กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 ชั้งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาล หมู่ 1224 พฤษภาคม 2564
24
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสุคิริน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. เตรียมกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไป ที่ต้องตรวจคัดกรอง ให้กับ อสม. และจัดทำทะเบียนกลุ่ม 2.ประชุมเตรียมชี้แจงอสม. ในเรื่ององค์ความรู้วัตถุประสงค์โครงการ ก่อนลงพื้นที่ปฏิบัติงานในเขรับผิดชอบของตัวเอง
  2. คัดเลือกแกนนำ อสม. และอบรมแกนนำ การตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย หอกระจายข่าว เพื่อขอความร่วมมือสร้างกระแสในการสร้างสุขภาพ
  4. เจ้าหน้าที่และอสม.แกนนำอสม. ตรวจคัดกรองประชาชน 35 ปีขึ้นไป โดยใช้แบบบันทึกการตรวจคัดกรอง พื้นที่ดำเนินการ
    โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตก และตรวจคัดกรองในชุมชน ดังนี้ -หมู่ 12 บ้านน้อมเกล้า
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปและประเมินผลโครงการ หมู่บ้านน้อมเกล้า

จากการดำเนินงานโครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 กลุ่มเป้าหมายคือ
คนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 197 คน
คัดกรองโดยการเจาะเลือดปลายนิ้วมือหลังงดน้ำ งดอาหาร เจาะเบาหวาน จำนวน 186 คน คิดเป็นร้อยละ 94.42 ไม่งดน้ำ งดอาหาร เจาะเบาหวาน จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 5.58
คัดกรองความดันโลหิตสูง จำนวน 197 คิดเป็นร้อยละ 100
ได้ให้ความรู้ในเรื่องการบริโภคได้จากการปฏิบัติกิจกรรม เช่น การบรรยายให้ความรู้ในเรื่องการดูแลตนเองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน ได้แก่ การบริโภคอาหาร ที่เหมาะสมกับโรค การออกกำลังกาย การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะแทรกซ้อนของการไม่ดูแลตนเอง เมื่อเป็นเบาหวาน การปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิต การดูแลเท้า และการติดป้ายการให้ความรู้เกี่ยวกับเบาหวาน และโรคความดันมีความเหมาะสมกับโครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับความสนใจจากประชาชน

ประเมินความเพียงพอและความเหมาะสม จากโครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 งบประมาณและอุปกรณ์มีความเพียงพอและจำนวนประชากรที่เข้าโครงการตามเป้าหมายที่วางไว้ และได้รับความมือจากประชาชนเป็นอย่างดี ผลการดำเนินโครงการมีความสำเร็จได้ด้วยดี

กิจกรรมที่มอบให้อาสาสมัครสาธารณสุข ดำเนินการต่อ 1. ข้อมูลความเสี่ยงของผู้เข้าร่วมโครงการจากการคัดกรองเบาหวาน และความดัน 2. ติดตามการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดัน หลังสิ้นสุดโครงการ 6 เดือน 3. ติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่มีภาวะเสี่ยง

ปัญหาและอุปสรรค 1.ในการตรวจคัดกรองการประชาสัมพันธ์ไม่ทั่วถึง ทำให้การตรวจน้ำตาลในเลือด ผ่านเกณฑ์ตามที่ตั้งไว้ในโครงการ ( เป้าหมาย ร้อยละ 90 ) 2.ช่วงเวลาในการตรวจคัดกรองเบาหวานเป็นฤดูผลไม้ ทำให้การตรวจน้ำตาลในเลือด มีภาวะกลุ่มเสี่ยง

แนวทางการแก้ไข 1.ควรมีการประชาสัมพันธ์การตรวจคัดกรองให้ครอบคลุมกว่านี้ 2.ควรจัดทำกิจกรรมโครงการเกี่ยวกับเบาหวานและความดันโลหิตสูง นอกฤดูผลไม้

กิจกรรมที่ 2 ชั้งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาล หมู่ 517 พฤษภาคม 2564
17
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสุคิริน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. เตรียมกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไป ที่ต้องตรวจคัดกรอง ให้กับ อสม. และจัดทำทะเบียนกลุ่ม 2.ประชุมเตรียมชี้แจงอสม. ในเรื่ององค์ความรู้วัตถุประสงค์โครงการ ก่อนลงพื้นที่ปฏิบัติงานในเขรับผิดชอบของตัวเอง
  2. คัดเลือกแกนนำ อสม. และอบรมแกนนำ การตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย หอกระจายข่าว เพื่อขอความร่วมมือสร้างกระแสในการสร้างสุขภาพ
  4. เจ้าหน้าที่และอสม.แกนนำอสม. ตรวจคัดกรองประชาชน 35 ปีขึ้นไป โดยใช้แบบบันทึกการตรวจคัดกรอง พื้นที่ดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตก และตรวจคัดกรองในชุมชน ดังนี้ -หมู่ 5 บ้านน้ำตก
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปและประเมินผลโครงการ หมู่บ้านน้ำตก

จากการดำเนินงานโครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 กลุ่มเป้าหมายคือ
คนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 195 คน
คัดกรองโดยการเจาะเลือดปลายนิ้วมือหลังงดน้ำ งดอาหาร เจาะเบาหวาน จำนวน 182 คน คิดเป็นร้อยละ 93.33  ไม่งดน้ำ งดอาหาร เจาะเบาหวาน จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 6.67
คัดกรองความดันโลหิตสูง จำนวน 195 คิดเป็นร้อยละ 100
ได้ให้ความรู้ในเรื่องการบริโภคได้จากการปฏิบัติกิจกรรม เช่น การบรรยายให้ความรู้ในเรื่องการดูแลตนเองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน ได้แก่ การบริโภคอาหาร ที่เหมาะสมกับโรค การออกกำลังกาย การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะแทรกซ้อนของการไม่ดูแลตนเอง เมื่อเป็นเบาหวาน การปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิต การดูแลเท้า และการติดป้ายการให้ความรู้เกี่ยวกับเบาหวาน และโรคความดันมีความเหมาะสมกับโครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับความสนใจจากประชาชน

ประเมินความเพียงพอและความเหมาะสม จากโครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 งบประมาณและอุปกรณ์มีความเพียงพอและจำนวนประชากรที่เข้าโครงการตามเป้าหมายที่วางไว้ และได้รับความมือจากประชาชนเป็นอย่างดี ผลการดำเนินโครงการมีความสำเร็จได้ด้วยดี

กิจกรรมที่มอบให้อาสาสมัครสาธารณสุข ดำเนินการต่อ 1. ข้อมูลความเสี่ยงของผู้เข้าร่วมโครงการจากการคัดกรองเบาหวาน และความดัน 2. ติดตามการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดัน หลังสิ้นสุดโครงการ 6 เดือน 3. ติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่มีภาวะเสี่ยง

ปัญหาและอุปสรรค 1.ในการตรวจคัดกรองการประชาสัมพันธ์ไม่ทั่วถึง ทำให้การตรวจน้ำตาลในเลือด ผ่านเกณฑ์ตามที่ตั้งไว้ในโครงการ ( เป้าหมาย ร้อยละ 90 ) 2.ช่วงเวลาในการตรวจคัดกรองเบาหวานเป็นฤดูผลไม้ ทำให้การตรวจน้ำตาลในเลือด มีภาวะกลุ่มเสี่ยง

แนวทางการแก้ไข 1.ควรมีการประชาสัมพันธ์การตรวจคัดกรองให้ครอบคลุมกว่านี้ 2.ควรจัดทำกิจกรรมโครงการเกี่ยวกับเบาหวานและความดันโลหิตสูง นอกฤดูผลไม้

กิจกรรมที่ 2 ชั้งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาล หมู่ 110 พฤษภาคม 2564
10
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านน้ำตก
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. เตรียมกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไป ที่ต้องตรวจคัดกรอง ให้กับ อสม. และจัดทำทะเบียนกลุ่ม 2.ประชุมเตรียมชี้แจงอสม. ในเรื่ององค์ความรู้วัตถุประสงค์โครงการ ก่อนลงพื้นที่ปฏิบัติงานในเขรับผิดชอบของตัวเอง
  2. คัดเลือกแกนนำ อสม. และอบรมแกนนำ การตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย หอกระจายข่าว เพื่อขอความร่วมมือสร้างกระแสในการสร้างสุขภาพ
  4. เจ้าหน้าที่และอสม.แกนนำอสม. ตรวจคัดกรองประชาชน 35 ปีขึ้นไป โดยใช้แบบบันทึกการตรวจคัดกรอง พื้นที่ดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตก และตรวจคัดกรองในชุมชน ดังนี้  -หมู่ 1 บ้านไอกาบู
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปและประเมินผลโครงการ หมู่บ้านไอกาบู

จากการดำเนินงานโครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 กลุ่มเป้าหมายคือ
คนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 136 คน
คัดกรองโดยการเจาะเลือดปลายนิ้วมือหลังงดน้ำ งดอาหาร เจาะเบาหวาน จำนวน 126 คน คิดเป็นร้อยละ 92.65  ไม่งดน้ำ งดอาหาร เจาะเบาหวาน จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 7.35
คัดกรองความดันโลหิตสูง จำนวน 136 คิดเป็นร้อยละ 100
ได้ให้ความรู้ในเรื่องการบริโภคได้จากการปฏิบัติกิจกรรม เช่น การบรรยายให้ความรู้ในเรื่องการดูแลตนเองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน ได้แก่ การบริโภคอาหาร ที่เหมาะสมกับโรค การออกกำลังกาย การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะแทรกซ้อนของการไม่ดูแลตนเอง เมื่อเป็นเบาหวาน การปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิต การดูแลเท้า และการติดป้ายการให้ความรู้เกี่ยวกับเบาหวาน และโรคความดันมีความเหมาะสมกับโครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับความสนใจจากประชาชน

ประเมินความเพียงพอและความเหมาะสม จากโครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 งบประมาณและอุปกรณ์มีความเพียงพอและจำนวนประชากรที่เข้าโครงการตามเป้าหมายที่วางไว้ และได้รับความมือจากประชาชนเป็นอย่างดี ผลการดำเนินโครงการมีความสำเร็จได้ด้วยดี

กิจกรรมที่มอบให้อาสาสมัครสาธารณสุข ดำเนินการต่อ 1. ข้อมูลความเสี่ยงของผู้เข้าร่วมโครงการจากการคัดกรองเบาหวาน และความดัน 2. ติดตามการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดัน หลังสิ้นสุดโครงการ 6 เดือน 3. ติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่มีภาวะเสี่ยง

ปัญหาและอุปสรรค 1.ในการตรวจคัดกรองการประชาสัมพันธ์ไม่ทั่วถึง ทำให้การตรวจน้ำตาลในเลือด ผ่านเกณฑ์ตามที่ตั้งไว้ในโครงการ ( เป้าหมาย ร้อยละ 90 ) 2.ช่วงเวลาในการตรวจคัดกรองเบาหวานเป็นฤดูผลไม้ ทำให้การตรวจน้ำตาลในเลือด มีภาวะกลุ่มเสี่ยง

แนวทางการแก้ไข 1.ควรมีการประชาสัมพันธ์การตรวจคัดกรองให้ครอบคลุมกว่านี้ 2.ควรจัดทำกิจกรรมโครงการเกี่ยวกับเบาหวานและความดันโลหิตสูง นอกฤดูผลไม้

กิจกรรมที่ 2 ชั้งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาล หมู่ 105 พฤษภาคม 2564
5
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสุคิริน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. เตรียมกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไป ที่ต้องตรวจคัดกรอง ให้กับ อสม. และจัดทำทะเบียนกลุ่ม 2.ประชุมเตรียมชี้แจงอสม. ในเรื่ององค์ความรู้วัตถุประสงค์โครงการ ก่อนลงพื้นที่ปฏิบัติงานในเขรับผิดชอบของตัวเอง
  2. คัดเลือกแกนนำ อสม. และอบรมแกนนำ การตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย หอกระจายข่าว เพื่อขอความร่วมมือสร้างกระแสในการสร้างสุขภาพ
  4. เจ้าหน้าที่และอสม.แกนนำอสม. ตรวจคัดกรองประชาชน 35 ปีขึ้นไป โดยใช้แบบบันทึกการตรวจคัดกรอง พื้นที่ดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตก และตรวจคัดกรองในชุมชน ดังนี้ -หมู่ 10 บ้านรักธรรม
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปและประเมินผลโครงการ หมู่บ้านรักธรรม

จากการดำเนินงานโครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 กลุ่มเป้าหมายคือ
คนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 99 คน
คัดกรองโดยการเจาะเลือดปลายนิ้วมือหลังงดน้ำ งดอาหาร เจาะเบาหวาน จำนวน 92 คน คิดเป็นร้อยละ 92.93  ไม่งดน้ำ งดอาหาร เจาะเบาหวาน จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 7.07
คัดกรองความดันโลหิตสูง จำนวน 99 คิดเป็นร้อยละ 100
ได้ให้ความรู้ในเรื่องการบริโภคได้จากการปฏิบัติกิจกรรม เช่น การบรรยายให้ความรู้ในเรื่องการดูแลตนเองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน ได้แก่ การบริโภคอาหาร ที่เหมาะสมกับโรค การออกกำลังกาย การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะแทรกซ้อนของการไม่ดูแลตนเอง เมื่อเป็นเบาหวาน การปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิต การดูแลเท้า และการติดป้ายการให้ความรู้เกี่ยวกับเบาหวาน และโรคความดันมีความเหมาะสมกับโครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับความสนใจจากประชาชน

ประเมินความเพียงพอและความเหมาะสม     จากโครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 งบประมาณและอุปกรณ์มีความเพียงพอและจำนวนประชากรที่เข้าโครงการตามเป้าหมายที่วางไว้ และได้รับความมือจากประชาชนเป็นอย่างดี ผลการดำเนินโครงการมีความสำเร็จได้ด้วยดี

กิจกรรมที่มอบให้อาสาสมัครสาธารณสุข ดำเนินการต่อ 1. ข้อมูลความเสี่ยงของผู้เข้าร่วมโครงการจากการคัดกรองเบาหวาน และความดัน 2. ติดตามการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดัน หลังสิ้นสุดโครงการ 6 เดือน 3. ติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่มีภาวะเสี่ยง

ปัญหาและอุปสรรค 1.ในการตรวจคัดกรองการประชาสัมพันธ์ไม่ทั่วถึง ทำให้การตรวจน้ำตาลในเลือด ผ่านเกณฑ์ตามที่ตั้งไว้ในโครงการ ( เป้าหมาย ร้อยละ 90 ) 2.ช่วงเวลาในการตรวจคัดกรองเบาหวานเป็นฤดูผลไม้ ทำให้การตรวจน้ำตาลในเลือด มีภาวะกลุ่มเสี่ยง

แนวทางการแก้ไข 1.ควรมีการประชาสัมพันธ์การตรวจคัดกรองให้ครอบคลุมกว่านี้ 2.ควรจัดทำกิจกรรมโครงการเกี่ยวกับเบาหวานและความดันโลหิตสูง นอกฤดูผลไม้