กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส


“ โครงการลด ละเลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร เพื่อสุขภาพที่ดี ”

ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวศรีสุดา ธนูศิลป์

ชื่อโครงการ โครงการลด ละเลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร เพื่อสุขภาพที่ดี

ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2535-01-17 เลขที่ข้อตกลง 16/64

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลด ละเลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร เพื่อสุขภาพที่ดี จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลด ละเลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร เพื่อสุขภาพที่ดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลด ละเลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร เพื่อสุขภาพที่ดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2535-01-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,470.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพสังคมเศรษฐกิจปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลง ทำให้ประชาชนต้องการความสะดวกรวดเร็ว และมีการประกอบอาหารด้วยตนเองน้อยลง ผู้บริโภคส่วนใหญ่หันไปพึ่งร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ถึงแม้จะมีการรณรงค์ ส่งเสริมในหลายภาคส่วน และสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ให้ได้มาตรฐานด้านสุขาภิบาล และมีโครงการอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean food good test) แล้วก็ตามแต่ยังมีพิษภัยจากสารเคมีที่ปนเปื้อนมากับอาหารหรือแฝงมากับภาชนะบรรจุอาหาร “โฟม” ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากสะดวก ราคาถูก และหาซื้อง่าย จากงานวิจัยทั้งในและต่างประเทศพบว่า เมื่อนำกล่องโฟมไปบรรจุอาหารที่มีความร้อนสูง หรือที่มีไขมัน หรือ น้ำมันจะมีสารพิษออกมาปนเปื้อนในอาหารซึ่งเป็นสารก่อให้เกิดโรคมะเร็ง ได้แก่สารสไตรีน ออกฤทธิ์ทำให้สมองมึนงง ในผู้ชายเสี่ยงเป็นมะเร็งต่อมลูกหมากและมะเร็งตับ ในผู้หญิงเสี่ยงเป็นมะเร็งเต้านมและมะเร็งตับ ส่วนสารเบนซินออกฤทธิ์ทำลายไขกระดูก ทำให้โลหิตจาง และสารทาเลท เป็นสารทำลายระบบสืบพันธุ์ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค และจากการสำรวจปริมาณขยะของกรมควบคุมมลพิษ พบว่า ขยะประเภทโฟมประมาณ 700,000 ตันต่อปี ซึ่งโฟมใช้เวลาในการย่อยสลายประมาณ 450 ปี ซึ่งสร้างปัญหาในการกำจัดเนื่องจากใช้พลังงานต้นทุนการกำจัดสูง เปลืองพื้นที่ฝังกลบ และขบวนการกำจัดโฟม อาจทำให้เกิดมลพิษสิ่งแวดล้อม ที่ส่งผลกระทบต่อประชาชน ลภาวะโลกร้อนได้อีกทางหนึ่ง
ดังนั้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลปาเสมัส ได้เล็งเห็นถึงความจำเป็นที่จะจัดการอันตรายจากโฟมที่ใช้บรรจุอาหาร เป็นหน่วยงานนำร่อง ในการเลิกใช้ภาชนะบรรจุอาหาร และรณรงค์ ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร ในเขตพื้นที่ของตำบลปาเสมัส ให้ได้ในระดับที่น่าพอใจ และเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายด้านอาหารปลอดภัยของรัฐ และเป็นประโยชน์แก่ประชาชน ในการลดความเสี่ยงจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย จึงได้จัดทำโครงการฯนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์ให้ผู้ประกอบการค้าอาหารและผู้บริโภค ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหาร
  2. เพื่อให้ผู้ประกอบการค้าอาหารและผู้บริโภคลด ละ เลิกการใช้โฟมบรรจุอาหาร
  3. เพื่อให้ผู้ประกอบการค้าอาหารเลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหารที่มีความปลอดภัยต่อสุขภาพทดแทนโฟม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าอบรมและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร และการเลือกใช้ภาชนะทดแทนโฟมที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ จำนวน 82 คน
  2. รณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการ ลด ละ เลิก ใช้โฟมบรรจุอาหาร
  3. ประเมินร้านอาหาร/แผงลอยไร้โฟมและมอบสติกเกอร์ “ร้านนี้ปลอดภัย ไร้โฟม”

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ประกอบการร้านค้าอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารและตัวแ 80

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักถึงอันตรายจากการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร
  2. ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร สามารถเลือกใช้ภาชนะทดแทนโฟมที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ
  3. สามารถลดปริมาณขยะจากโฟมได้ ตลอดจนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางเลือกเพื่อสุขภาพที่ดีได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าอบรมและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร และการเลือกใช้ภาชนะทดแทนโฟมที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ จำนวน 82 คน

วันที่ 3 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย (ผู้ประกอบการค้าอาหาร ร้านและแผงลอยจำหน่ายอาหาร และตัวแทนผู้บริโภค) เพื่อให้ตระหนักถึงอัตรายจากการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร และการเลือกใช้ภาชนะทดแทนโฟมที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ จำนวน 80 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักถึงอันตรายจากการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร
  2. ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร สามารถเลือกใช้ภาชนะทดแทนโฟมที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ
  3. สามารถลดปริมาณขยะจากโฟมได้ ตลอดจนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางเลือกเพื่อสุขภาพที่ดีได้

 

82 0

2. รณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการ ลด ละ เลิก ใช้โฟมบรรจุอาหาร

วันที่ 3 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการ ลด ละ เลิก ใช้โฟมบรรจุอาหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักถึงอันตรายจากการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร
  2. ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร สามารถเลือกใช้ภาชนะทดแทนโฟมที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ
  3. สามารถลดปริมาณขยะจากโฟมได้ ตลอดจนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางเลือกเพื่อสุขภาพที่ดีได้

 

0 0

3. ประเมินร้านอาหาร/แผงลอยไร้โฟมและมอบสติกเกอร์ “ร้านนี้ปลอดภัย ไร้โฟม”

วันที่ 3 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 3 ประเมินร้านอาหาร/แผงลอยไร้โฟมและมอบสติกเกอร์ “ร้านนี้ปลอดภัย ไร้โฟม”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักถึงอันตรายจากการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร
  2. ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร สามารถเลือกใช้ภาชนะทดแทนโฟมที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ
  3. สามารถลดปริมาณขยะจากโฟมได้ ตลอดจนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางเลือกเพื่อสุขภาพที่ดีได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ตามที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลปาเสมัส ได้รับอนุมัติจากแผนสุขภาพกองทุนฯ ให้ดำเนินการจัดโครงการลด ละเลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี นั้น กองสาธารณสุขฯ ไม่ได้ดำเนินการกิจกรรมตามโครงการลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีตามระยะเวลาที่กำหนด เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรณรงค์ให้ผู้ประกอบการค้าอาหารและผู้บริโภค ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหาร
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการค้าอาหารและผู้บริโภค ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหาร
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ประกอบการค้าอาหารและผู้บริโภคลด ละ เลิกการใช้โฟมบรรจุอาหาร
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการค้าอาหารและผู้บริโภคลด ละ เลิกการใช้โฟมบรรจุอาหาร
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ประกอบการค้าอาหารเลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหารที่มีความปลอดภัยต่อสุขภาพทดแทนโฟม
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการค้าอาหารเลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหารที่มีความปลอดภัยต่อสุขภาพทดแทนโฟม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ประกอบการร้านค้าอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารและตัวแ 80

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ให้ผู้ประกอบการค้าอาหารและผู้บริโภค ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหาร (2) เพื่อให้ผู้ประกอบการค้าอาหารและผู้บริโภคลด ละ เลิกการใช้โฟมบรรจุอาหาร (3) เพื่อให้ผู้ประกอบการค้าอาหารเลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหารที่มีความปลอดภัยต่อสุขภาพทดแทนโฟม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าอบรมและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร และการเลือกใช้ภาชนะทดแทนโฟมที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ จำนวน 82 คน (2) รณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการ ลด ละ เลิก ใช้โฟมบรรจุอาหาร (3) ประเมินร้านอาหาร/แผงลอยไร้โฟมและมอบสติกเกอร์ “ร้านนี้ปลอดภัย ไร้โฟม”

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลด ละเลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร เพื่อสุขภาพที่ดี จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2535-01-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวศรีสุดา ธนูศิลป์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด