บริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน ประจำปีงบประมาณ 2564 ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ บริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน ประจำปีงบประมาณ 2564 ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางอาบทิพย์ เพ็ชรสกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
สิงหาคม 2564
ชื่อโครงการ บริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน ประจำปีงบประมาณ 2564 ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L7258-1-44 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"บริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน ประจำปีงบประมาณ 2564 ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
บริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน ประจำปีงบประมาณ 2564 ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " บริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน ประจำปีงบประมาณ 2564 ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7258-1-44 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 159,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการสำคัญในการดูแลสุขภาพเพื่อก้าวเข้าสู่การมีสุขภาพดีคือการส่งเสริมสุขภาพ โดยนโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายที่สำคัญ คือ การสร้างสุขภาพที่ดีและลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว ได้ขยายขอบเขตการบริการส่งเสริมสุขภาพไปยังกลุ่มผู้มีสิทธิในการรักษาทุกประเภท เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔ หมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา ๒๔๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๑ ให้มีการจัดการปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักแห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น ทั้งนี้ตามวิธีการและรูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๕๐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่และอำนาจดูแลและจัดทำบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสังคมในการเข้าถึงบริการอย่างทั่วถึง ซึ่งสอดคล้องเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ที่มียุทธศาสตร์ในการสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม และแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้กำหนดยุทธศาสตร์ที่๑ ด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพและมีสุขภาพที่ดี
เทศบาลนครหาดใหญ่เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รับผิดชอบดูแลสุขภาพของประชาชนทั้งชาวไทยและต่างชาติในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย ซึ่งมีประชากรในเขตรับผิดชอบจำนวน 190,555 คน คณะผู้บริหารได้มีนโยบายการดำเนินงานสาธารณสุขให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560 – 2564 ได้กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน การสร้างเสริมให้คนมีสุขภาวะที่ดี การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทยให้เอื้อต่อการพัฒนาคน เทศบาลนครหาดใหญ่จึงมีแนวทางดำเนินการพัฒนาทางด้านการสาธารณสุขทั้งเชิงรับและเชิงรุก เพื่อให้คนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ปราศจากโรค ส่งเสริมและสนับสนุนการรักษาและดูแลสุขภาพของบุคคลทั่วไป ผู้ป่วย และผู้สูงอายุ ซึ่งจากการสำรวจข้อมูล Health Data Center ปีพ.ศ.2562 พบว่า ประชาชนในอำเภอหาดใหญ่มีแนวโน้มเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆเพิ่มขึ้น ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ โรคที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภค โรคที่เกี่ยวกับอารมณ์และจิตใจ เช่น โรคซึมเศร้า โรคเครียด โรควิตกกังวล ซึ่งการเกิดโรคส่วนใหญ่เป็นผลจากวิถีการดำเนินชีวิตที่มีพฤติกรรมเสี่ยงหลายอย่าง ได้แก่ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร การขาดการออกกำลังกาย ความเครียดสะสมในการทำงาน ความเครียดจากวิถีชีวิต การขาดการพักผ่อนที่มีคุณภาพ ซึ่งการส่งเสริมและป้องกันการเกิดโรคเป็นสิ่งที่มีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะหากประชาชนมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพอย่างสมดุลทั้งด้านร่างกาย จิตใจ(อารมณ์) สังคม และจิตวิญญาณ(สติปัญญา) ประชาชนจะสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคต่างๆ ได้
“ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข” ซึ่งเป็นศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ ณ บริเวณสวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ ให้บริการการแพทย์แบบผสมผสานที่มีความหลากหลายของการดูแลสุขภาพทั้งทางด้านการบำบัดรักษา ส่งเสริม ป้องกัน และฟื้นฟู สนับสนุนการดูแลสุขภาพ การรักษาสุขภาพของบุคคลทั่วไป ผู้ป่วยและผู้สูงอายุ ให้การบริการและส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์ผสมผสานด้วยศาสตร์การนวดแผนไทย การอบสมุนไพร กายภาพบำบัด วารีบำบัด กิจกรรมบำบัด โภชนบำบัดและสมาธิบำบัด การดูแลสุขภาพแบบผสมผสานมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้บุคคลมีสุขภาพดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี การมีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ(อารมณ์) สังคม และจิตวิญญาณ(สติปัญญา) ที่เชื่อมโยงซึ่งกันและกัน การขาดความสมดุลในองค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่งย่อมส่งผลต่อองค์ประกอบอื่นๆเสมอ การดำรงภาวะสุขภาพแบบองค์รวม จึงต้องคำนึงถึงการผสมผสานกลยุทธ์ที่จะคงความสมดุลในทุกองค์ประกอบ โดยจะครอบคลุมถึงการดำเนินชีวิตที่เหมาะสมของบุคคลเป็นสำคัญ จึงได้จัดเป็นโครงการบริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสานขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี สามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคต่างๆ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ แม้จะอยู่ในสังคมเมืองที่มีภาวะเร่งรีบเหมือนในปัจจุบัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อมีการบริการสุขภาพแบบผสมผสาน
- เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพแบบผสมผสาน
- เพื่อให้ประชาชนและผู้สนใจ ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริการและการส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ สามารถเข้าถึงบริการและได้รับบริการมากขึ้น
- ประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ ได้รับบริการสุขภาพแบบผสมผสานและมีความเหมาะสมเพิ่มขึ้น เพื่อการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสุขภาพ
- ส่งเสริมการดูแลสุขภาพและเป็นพื้นที่ต้นแบบในการดูแลสุขภาพแบบผสมผสาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เนื่องจากสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด - 19) ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุขเล็งเห็นถึงความปลอดภัยต่อสุขภาพของประชาชน เพื่อเป็นการสนองนโยบายและมาตรการเฝ้าระวังระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 จึงไ้ทำการขออนุมัติยกเลิกโครงการบริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน ประจำปีงบประมาณ 2564 และขอส่งเงินคืนกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครหาดใหญ่ จำนวน 159,400 บาท (หนึ่งแสนห้าหมื่นเก้าพันสี่ร้อยบาทถ้วน)
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อมีการบริการสุขภาพแบบผสมผสาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนและผู้สนใจ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน
0.00
2
เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพแบบผสมผสาน
ตัวชี้วัด : เกิดคลินิกเฉพาะทางขึ้นในศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข
0.00
3
เพื่อให้ประชาชนและผู้สนใจ ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริการและการส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 กลุ่มเป้าหมายมีระดับความพึงพอใจ ในการได้รับบริการแบบผสมผสาน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อมีการบริการสุขภาพแบบผสมผสาน (2) เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพแบบผสมผสาน (3) เพื่อให้ประชาชนและผู้สนใจ ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริการและการส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
บริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน ประจำปีงบประมาณ 2564 ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L7258-1-44
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอาบทิพย์ เพ็ชรสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ บริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน ประจำปีงบประมาณ 2564 ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางอาบทิพย์ เพ็ชรสกุล
สิงหาคม 2564
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L7258-1-44 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"บริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน ประจำปีงบประมาณ 2564 ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
บริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน ประจำปีงบประมาณ 2564 ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " บริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน ประจำปีงบประมาณ 2564 ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7258-1-44 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 159,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการสำคัญในการดูแลสุขภาพเพื่อก้าวเข้าสู่การมีสุขภาพดีคือการส่งเสริมสุขภาพ โดยนโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายที่สำคัญ คือ การสร้างสุขภาพที่ดีและลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว ได้ขยายขอบเขตการบริการส่งเสริมสุขภาพไปยังกลุ่มผู้มีสิทธิในการรักษาทุกประเภท เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔ หมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา ๒๔๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๑ ให้มีการจัดการปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักแห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น ทั้งนี้ตามวิธีการและรูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๕๐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่และอำนาจดูแลและจัดทำบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสังคมในการเข้าถึงบริการอย่างทั่วถึง ซึ่งสอดคล้องเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ที่มียุทธศาสตร์ในการสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม และแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้กำหนดยุทธศาสตร์ที่๑ ด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพและมีสุขภาพที่ดี เทศบาลนครหาดใหญ่เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รับผิดชอบดูแลสุขภาพของประชาชนทั้งชาวไทยและต่างชาติในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย ซึ่งมีประชากรในเขตรับผิดชอบจำนวน 190,555 คน คณะผู้บริหารได้มีนโยบายการดำเนินงานสาธารณสุขให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560 – 2564 ได้กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน การสร้างเสริมให้คนมีสุขภาวะที่ดี การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทยให้เอื้อต่อการพัฒนาคน เทศบาลนครหาดใหญ่จึงมีแนวทางดำเนินการพัฒนาทางด้านการสาธารณสุขทั้งเชิงรับและเชิงรุก เพื่อให้คนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ปราศจากโรค ส่งเสริมและสนับสนุนการรักษาและดูแลสุขภาพของบุคคลทั่วไป ผู้ป่วย และผู้สูงอายุ ซึ่งจากการสำรวจข้อมูล Health Data Center ปีพ.ศ.2562 พบว่า ประชาชนในอำเภอหาดใหญ่มีแนวโน้มเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆเพิ่มขึ้น ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ โรคที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภค โรคที่เกี่ยวกับอารมณ์และจิตใจ เช่น โรคซึมเศร้า โรคเครียด โรควิตกกังวล ซึ่งการเกิดโรคส่วนใหญ่เป็นผลจากวิถีการดำเนินชีวิตที่มีพฤติกรรมเสี่ยงหลายอย่าง ได้แก่ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร การขาดการออกกำลังกาย ความเครียดสะสมในการทำงาน ความเครียดจากวิถีชีวิต การขาดการพักผ่อนที่มีคุณภาพ ซึ่งการส่งเสริมและป้องกันการเกิดโรคเป็นสิ่งที่มีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะหากประชาชนมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพอย่างสมดุลทั้งด้านร่างกาย จิตใจ(อารมณ์) สังคม และจิตวิญญาณ(สติปัญญา) ประชาชนจะสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคต่างๆ ได้ “ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข” ซึ่งเป็นศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ ณ บริเวณสวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ ให้บริการการแพทย์แบบผสมผสานที่มีความหลากหลายของการดูแลสุขภาพทั้งทางด้านการบำบัดรักษา ส่งเสริม ป้องกัน และฟื้นฟู สนับสนุนการดูแลสุขภาพ การรักษาสุขภาพของบุคคลทั่วไป ผู้ป่วยและผู้สูงอายุ ให้การบริการและส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์ผสมผสานด้วยศาสตร์การนวดแผนไทย การอบสมุนไพร กายภาพบำบัด วารีบำบัด กิจกรรมบำบัด โภชนบำบัดและสมาธิบำบัด การดูแลสุขภาพแบบผสมผสานมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้บุคคลมีสุขภาพดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี การมีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ(อารมณ์) สังคม และจิตวิญญาณ(สติปัญญา) ที่เชื่อมโยงซึ่งกันและกัน การขาดความสมดุลในองค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่งย่อมส่งผลต่อองค์ประกอบอื่นๆเสมอ การดำรงภาวะสุขภาพแบบองค์รวม จึงต้องคำนึงถึงการผสมผสานกลยุทธ์ที่จะคงความสมดุลในทุกองค์ประกอบ โดยจะครอบคลุมถึงการดำเนินชีวิตที่เหมาะสมของบุคคลเป็นสำคัญ จึงได้จัดเป็นโครงการบริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสานขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี สามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคต่างๆ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ แม้จะอยู่ในสังคมเมืองที่มีภาวะเร่งรีบเหมือนในปัจจุบัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อมีการบริการสุขภาพแบบผสมผสาน
- เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพแบบผสมผสาน
- เพื่อให้ประชาชนและผู้สนใจ ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริการและการส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ สามารถเข้าถึงบริการและได้รับบริการมากขึ้น
- ประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ ได้รับบริการสุขภาพแบบผสมผสานและมีความเหมาะสมเพิ่มขึ้น เพื่อการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสุขภาพ
- ส่งเสริมการดูแลสุขภาพและเป็นพื้นที่ต้นแบบในการดูแลสุขภาพแบบผสมผสาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เนื่องจากสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด - 19) ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุขเล็งเห็นถึงความปลอดภัยต่อสุขภาพของประชาชน เพื่อเป็นการสนองนโยบายและมาตรการเฝ้าระวังระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 จึงไ้ทำการขออนุมัติยกเลิกโครงการบริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน ประจำปีงบประมาณ 2564 และขอส่งเงินคืนกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครหาดใหญ่ จำนวน 159,400 บาท (หนึ่งแสนห้าหมื่นเก้าพันสี่ร้อยบาทถ้วน)
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อมีการบริการสุขภาพแบบผสมผสาน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนและผู้สนใจ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพแบบผสมผสาน ตัวชี้วัด : เกิดคลินิกเฉพาะทางขึ้นในศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ประชาชนและผู้สนใจ ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริการและการส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 กลุ่มเป้าหมายมีระดับความพึงพอใจ ในการได้รับบริการแบบผสมผสาน |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อมีการบริการสุขภาพแบบผสมผสาน (2) เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพแบบผสมผสาน (3) เพื่อให้ประชาชนและผู้สนใจ ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริการและการส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
บริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน ประจำปีงบประมาณ 2564 ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L7258-1-44
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอาบทิพย์ เพ็ชรสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......