กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

พัฒนาสุขาภิบาลสถานประกอบการเสริมสวย แต่งผม ประจำปี 2564 กลุ่มงานส่งเสริมสิ่งแวดล้อม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ พัฒนาสุขาภิบาลสถานประกอบการเสริมสวย แต่งผม ประจำปี 2564 กลุ่มงานส่งเสริมสิ่งแวดล้อม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายมูฮำหมัดยัมรี อาแว




ชื่อโครงการ พัฒนาสุขาภิบาลสถานประกอบการเสริมสวย แต่งผม ประจำปี 2564 กลุ่มงานส่งเสริมสิ่งแวดล้อม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7258-1-45 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 กรกฎาคม 2564

กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาสุขาภิบาลสถานประกอบการเสริมสวย แต่งผม ประจำปี 2564 กลุ่มงานส่งเสริมสิ่งแวดล้อม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาสุขาภิบาลสถานประกอบการเสริมสวย แต่งผม ประจำปี 2564 กลุ่มงานส่งเสริมสิ่งแวดล้อม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาสุขาภิบาลสถานประกอบการเสริมสวย แต่งผม ประจำปี 2564 กลุ่มงานส่งเสริมสิ่งแวดล้อม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7258-1-45 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 220,020.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานประกอบการเสริมสวย/แต่งผม ได้ถูกจัดให้เป็นสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตาม พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 ที่ต้องมีการควบคุม ดูแล และเฝ้าระวังปัญหาทางด้านสุขอนามัยของ ผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการ ซึ่งปัจจุบันมีกิจการประเภทเสริมสวยแต่งผม เป็นจำนวนมากในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ โดยมีสถานประกอบกิจการ จำนวน ๔๙๕ แห่ง มีช่างเสริมสวย/แต่งผม ประมาณ ๗๔๓ คน และได้รับความนิยม อย่างมากจากประชาชน ในการสรรค์สร้างความงามอย่างครบวงจรตั้งแต่ ตัดผม แต่งทรงผม เสริมสวย นวดหน้า ขัดตัว จากการที่ประชาชนส่วนใหญ่ต้องออกไปประกอบอาชีพนอกบ้านที่ต้องมีการเข้าสังคมกับบุคคลอื่น ส่งผลให้มีการใส่ใจ ในเรื่องความสวยงามมากขึ้น ดังนั้นจึงพบว่ามีประชาชนทุกเพศ ทุกวัย เข้าไปใช้บริการในสถานประกอบการเสริมสวย/ แต่งผม ซึ่งทั้งบุคคลที่มีสุขภาพดีและเจ็บป่วย ต้องใช้บริการดังกล่าวและยังเป็นสถานบริการที่ผู้รับบริการและผู้ให้บริการ ต้องใกล้ชิดกัน หากมีบุคคลใดเจ็บป่วยย่อมมีโอกาสที่จะแพร่เชื้อโรคได้ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ให้บริการ คือ ช่างแต่งผม/เสริมสวย จะต้องเอาใจใส่ในเรื่องความสะอาด ความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสถานที่ ตลอดจนเครื่องสำอาง วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ต้องมีคุณภาพดี สะอาด ถูกสุขลักษณะ ไม่เป็นแหล่งแพร่กระจายของเชื้อโรค องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่กำกับดูแลการประกอบกิการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามมาตรา 32 ของพระราชบัญญัติกรสาธารณสุข พ.ศ.2535 ดังนั้น สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม โดยกลุ่มงานส่งเสริม สิ่งแวดล้อม จึงขอเสนอโครงการพัฒนาสุขาภิบาลสถานประกอบการเสริมสวย/แต่งผม เพื่อดำเนินงานพัฒนาให้สถาน ประกอบการเสริมสวย/แต่งผมได้มาตรฐานตามข้อกำหนดของท้องถิ่นและสร้างพื้นที่ต้นแบบ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาสถานประกอบการ ประเภทเสริมสวย/แต่งผมให้ได้มาตรฐานตามข้อกำหนดของท้องถิ่นและเป็นต้นแบบ สถานประกอบการเสริมสวย/แต่งผม สะอาดปลอดภัย น่าใช้บริการ
  2. เพื่อให้ผู้ประกอบการเสริมสวย/แต่งผม มีความรู้ความเข้าใจในหลักสุขาภิบาลสถานประกอบการเสริมสวย แต่งผม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.มีต้นแบบสถานประกอบการเสริมสวย/แต่งผม ที่สะอาด ปลอดภัย น่าใช้บริการในชุมชน ๒. มีสถานประกอบการเสริมสวย/แต่งผม ที่ยกระดับได้มาตรฐานผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนดของท้องถิ่น ๓. ผู้ประกอบการเสริมสวย/แต่งผม มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในเรื่องสุขาภิบาล


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาสถานประกอบการ ประเภทเสริมสวย/แต่งผมให้ได้มาตรฐานตามข้อกำหนดของท้องถิ่นและเป็นต้นแบบ สถานประกอบการเสริมสวย/แต่งผม สะอาดปลอดภัย น่าใช้บริการ
    ตัวชี้วัด : จำนวนสถานประกอบการเสริมสวย/แต่งผมได้รับการพัฒนาผ่านการประเมินตามข้อกำหนดของท้องถิ่นอย่างน้อย ร้อยละ 60
    0.00

     

    2 เพื่อให้ผู้ประกอบการเสริมสวย/แต่งผม มีความรู้ความเข้าใจในหลักสุขาภิบาลสถานประกอบการเสริมสวย แต่งผม
    ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการเสริมสวย/แต่งผม มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในเรื่องสุขาภิบาลสถานประกอบการเสริมสวย/ แต่งผม โดยมีผู้เข้าอบรมและผ่านการอบรม อย่างน้อยร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาสถานประกอบการ ประเภทเสริมสวย/แต่งผมให้ได้มาตรฐานตามข้อกำหนดของท้องถิ่นและเป็นต้นแบบ สถานประกอบการเสริมสวย/แต่งผม สะอาดปลอดภัย น่าใช้บริการ (2) เพื่อให้ผู้ประกอบการเสริมสวย/แต่งผม มีความรู้ความเข้าใจในหลักสุขาภิบาลสถานประกอบการเสริมสวย แต่งผม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    พัฒนาสุขาภิบาลสถานประกอบการเสริมสวย แต่งผม ประจำปี 2564 กลุ่มงานส่งเสริมสิ่งแวดล้อม ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 64-L7258-1-45

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายมูฮำหมัดยัมรี อาแว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด