โครงการค่ายครอบครัวอบอุ่น สู่ชุมชนเข็มแข็ง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการค่ายครอบครัวอบอุ่น สู่ชุมชนเข็มแข็ง ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายซาฟูวัน สาแม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการค่ายครอบครัวอบอุ่น สู่ชุมชนเข็มแข็ง
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2479-2-01 เลขที่ข้อตกลง 06/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 20 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการค่ายครอบครัวอบอุ่น สู่ชุมชนเข็มแข็ง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการค่ายครอบครัวอบอุ่น สู่ชุมชนเข็มแข็ง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการค่ายครอบครัวอบอุ่น สู่ชุมชนเข็มแข็ง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2479-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2564 - 20 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถาบันครอบครัวเป็นรากฐานที่สำคัญแห่งการเปลี่ยนแปลงนิสัยคน โดยทำหน้าที่ขัดเกลาความเป็นมนุษย์ให้แก่คนในครอบครัว ด้วยการอบรมเลี้ยงดูบุตร เพื่อให้สมาชิกครอบครัวมีการพัฒนาการตามวัยและเติบโตเป็นตัวอย่างที่ดีของชุมชน ปัจจุบันหลายครอบครัวที่มีพ่อแม่ไม่ค่อยได้อยู่ด้วยกันเพราะต่างคนก็ต้องไปทำงาน บางครอบครัวก็ต้องไปทำงานต่างจังหวัด บางครอบครัวไปทำงานต่างประเทศ ซึ่งเหตุผลนี้ที่ทำให้พ่อแม่และลูกมีความสัมพันธ์กันน้อยลง ทำให้ลูกไม่กล้าที่จะปรึกษาพ่อแม่ ทางสภาเด็กและเยาวชนตำบลบูกิตจึงคิดโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อจะกระชับความสัมพันธ์ของพ่อแม่ ลูก และกล้าที่จะแสดงความรู้สึกซึ่งกันและกัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดภาวะภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตายเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง
- เพื่อสร้างความรักความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว
- เพื่อเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของสมาชิกครอบครัว และปลุกฝังวิถีดำเนินชีวิตที่ดี
- เพื่อส่งเสริมการมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อจะได้ไม่สร้างปัญหาให้กับตนเอง ครอบครัว สังคม และมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไข
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมคณะทำงานก่อนจัดงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้และกิจกรรมนันทนาการ
- กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์และละลายพฤติกรรม
- กิจกรรมลดความขัดแย้ง เพิ่มความเข้าใจ คนในครอบครัว
- กิจกรรมเติมเต็มความรักให้กับครอบครัว
- จัดประชุมคณะทำงานหลังจากจัดงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
30
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 เด็กวัยเรียนที่มีอาการภาวะเครียดลดน้อยลง
2 มีครอบครัวที่มีความสุขและเข้มแข็งมากขึ้น
3 ครอบครัวไม่มีปัญหาความขัดแย้ง มีความเข้าใจซึ่งกันและกันมากขึ้น
4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ถึงบทบาทหน้าที่ในการดำเนินชีวิต
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดประชุมคณะทำงานก่อนจัดงาน
วันที่ 10 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
แจ้งวัตถุประสงค์โครงการ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะทำงานได้รู้บทบาทหน้าที่รับผิดชอบของตัวเอง
0
0
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้และกิจกรรมนันทนาการ
วันที่ 25 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้การลดความขัดแย้ง เพิ่มความเข้าใจ และการสร้างความเข็มแข็งในครอบครัว
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในการดำรงชีวิตให้ครอบครัวมีความสุข
0
0
3. กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์และละลายพฤติกรรม
วันที่ 25 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมละลายพฤติกรรม สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สมาชิกครอบครัวตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว เข้าใจหลักการดำเนินชีวิตที่เหมาะสม รู้เท่าทันและเฝ้าระวังปัญหาของครอบครัวที่อาจจะเกิดขึ้น
0
0
4. กิจกรรมลดความขัดแย้ง เพิ่มความเข้าใจ คนในครอบครัว
วันที่ 26 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมสร้างความรัก ความสามัคคีในครอบครัว เพื่อลดความขัดแย้ง และหันมาเปิดอกคุยกันเพื่อความอบอุ่นของครอบครัว โดยผ่านกิจกรรมเข้าฐาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทุกคนเกิดความรัก ความสนิทสนมมากขึ้น คุยกันมากขึ้น
0
0
5. กิจกรรมเติมเต็มความรักให้กับครอบครัว
วันที่ 26 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
เป็นกิจกรรมที่สมาชิกในครอบครัวบอกรักพ่อแม่ ผู้ปกครองผ่านสื่อต่างๆ และส่งเสริมการมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อจะได้ไม่สร้างปัญหาให้กับตัวเอง ครอบครัว สังคม และส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไข
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เกิดความรัก ความอบอุ่น และช่วยกันสะท้อนปัญหาในชุมชนและช่วยกันหาวิธีการป้องกัน
0
0
6. จัดประชุมคณะทำงานหลังจากจัดงาน
วันที่ 26 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปกิจกรรมสอบถามปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างดำเนินกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รู้ถึงปัญหาของการจัดกิจกรรม
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดภาวะภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตายเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย
30.00
20.00
2
เพื่อสร้างความรักความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว
ตัวชี้วัด : สมาชิกครอบครัวตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว เข้าใจหลักการดำเนินชีวิตที่เหมาะสม รู้เท่าทันและเฝ้าระวังปัญหาของครอบครัวที่อาจจะเกิดขึ้น
30.00
20.00
3
เพื่อเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของสมาชิกครอบครัว และปลุกฝังวิถีดำเนินชีวิตที่ดี
ตัวชี้วัด : ทุกคนในครอบครัวได้รับการปลุกฝังจิตสำนึกที่ดี ตระหนักและเห็นความสำคัญของบทบาท หน้าที่ของตนเอง ต่อบุคคลในครอบครัว
30.00
20.00
4
เพื่อส่งเสริมการมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อจะได้ไม่สร้างปัญหาให้กับตนเอง ครอบครัว สังคม และมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไข
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีภูมิคุ้มกันในการป้องกันปัญหาต่างๆ เช่นยาเสพติด พฤติกรรมทางเพศ เป็นต้น สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน
30.00
20.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
30
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตายเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง (2) เพื่อสร้างความรักความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว (3) เพื่อเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของสมาชิกครอบครัว และปลุกฝังวิถีดำเนินชีวิตที่ดี (4) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อจะได้ไม่สร้างปัญหาให้กับตนเอง ครอบครัว สังคม และมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไข
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมคณะทำงานก่อนจัดงาน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และกิจกรรมนันทนาการ (3) กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์และละลายพฤติกรรม (4) กิจกรรมลดความขัดแย้ง เพิ่มความเข้าใจ คนในครอบครัว (5) กิจกรรมเติมเต็มความรักให้กับครอบครัว (6) จัดประชุมคณะทำงานหลังจากจัดงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการค่ายครอบครัวอบอุ่น สู่ชุมชนเข็มแข็ง จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2479-2-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายซาฟูวัน สาแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการค่ายครอบครัวอบอุ่น สู่ชุมชนเข็มแข็ง ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายซาฟูวัน สาแม
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2479-2-01 เลขที่ข้อตกลง 06/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 20 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการค่ายครอบครัวอบอุ่น สู่ชุมชนเข็มแข็ง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการค่ายครอบครัวอบอุ่น สู่ชุมชนเข็มแข็ง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการค่ายครอบครัวอบอุ่น สู่ชุมชนเข็มแข็ง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2479-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2564 - 20 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถาบันครอบครัวเป็นรากฐานที่สำคัญแห่งการเปลี่ยนแปลงนิสัยคน โดยทำหน้าที่ขัดเกลาความเป็นมนุษย์ให้แก่คนในครอบครัว ด้วยการอบรมเลี้ยงดูบุตร เพื่อให้สมาชิกครอบครัวมีการพัฒนาการตามวัยและเติบโตเป็นตัวอย่างที่ดีของชุมชน ปัจจุบันหลายครอบครัวที่มีพ่อแม่ไม่ค่อยได้อยู่ด้วยกันเพราะต่างคนก็ต้องไปทำงาน บางครอบครัวก็ต้องไปทำงานต่างจังหวัด บางครอบครัวไปทำงานต่างประเทศ ซึ่งเหตุผลนี้ที่ทำให้พ่อแม่และลูกมีความสัมพันธ์กันน้อยลง ทำให้ลูกไม่กล้าที่จะปรึกษาพ่อแม่ ทางสภาเด็กและเยาวชนตำบลบูกิตจึงคิดโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อจะกระชับความสัมพันธ์ของพ่อแม่ ลูก และกล้าที่จะแสดงความรู้สึกซึ่งกันและกัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดภาวะภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตายเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง
- เพื่อสร้างความรักความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว
- เพื่อเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของสมาชิกครอบครัว และปลุกฝังวิถีดำเนินชีวิตที่ดี
- เพื่อส่งเสริมการมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อจะได้ไม่สร้างปัญหาให้กับตนเอง ครอบครัว สังคม และมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไข
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมคณะทำงานก่อนจัดงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้และกิจกรรมนันทนาการ
- กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์และละลายพฤติกรรม
- กิจกรรมลดความขัดแย้ง เพิ่มความเข้าใจ คนในครอบครัว
- กิจกรรมเติมเต็มความรักให้กับครอบครัว
- จัดประชุมคณะทำงานหลังจากจัดงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 เด็กวัยเรียนที่มีอาการภาวะเครียดลดน้อยลง 2 มีครอบครัวที่มีความสุขและเข้มแข็งมากขึ้น 3 ครอบครัวไม่มีปัญหาความขัดแย้ง มีความเข้าใจซึ่งกันและกันมากขึ้น 4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ถึงบทบาทหน้าที่ในการดำเนินชีวิต
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดประชุมคณะทำงานก่อนจัดงาน |
||
วันที่ 10 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำแจ้งวัตถุประสงค์โครงการ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะทำงานได้รู้บทบาทหน้าที่รับผิดชอบของตัวเอง
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้และกิจกรรมนันทนาการ |
||
วันที่ 25 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้การลดความขัดแย้ง เพิ่มความเข้าใจ และการสร้างความเข็มแข็งในครอบครัว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในการดำรงชีวิตให้ครอบครัวมีความสุข
|
0 | 0 |
3. กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์และละลายพฤติกรรม |
||
วันที่ 25 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำกิจกรรมละลายพฤติกรรม สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสมาชิกครอบครัวตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว เข้าใจหลักการดำเนินชีวิตที่เหมาะสม รู้เท่าทันและเฝ้าระวังปัญหาของครอบครัวที่อาจจะเกิดขึ้น
|
0 | 0 |
4. กิจกรรมลดความขัดแย้ง เพิ่มความเข้าใจ คนในครอบครัว |
||
วันที่ 26 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำกิจกรรมสร้างความรัก ความสามัคคีในครอบครัว เพื่อลดความขัดแย้ง และหันมาเปิดอกคุยกันเพื่อความอบอุ่นของครอบครัว โดยผ่านกิจกรรมเข้าฐาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทุกคนเกิดความรัก ความสนิทสนมมากขึ้น คุยกันมากขึ้น
|
0 | 0 |
5. กิจกรรมเติมเต็มความรักให้กับครอบครัว |
||
วันที่ 26 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำเป็นกิจกรรมที่สมาชิกในครอบครัวบอกรักพ่อแม่ ผู้ปกครองผ่านสื่อต่างๆ และส่งเสริมการมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อจะได้ไม่สร้างปัญหาให้กับตัวเอง ครอบครัว สังคม และส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไข ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเกิดความรัก ความอบอุ่น และช่วยกันสะท้อนปัญหาในชุมชนและช่วยกันหาวิธีการป้องกัน
|
0 | 0 |
6. จัดประชุมคณะทำงานหลังจากจัดงาน |
||
วันที่ 26 ธันวาคม 2564กิจกรรมที่ทำประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปกิจกรรมสอบถามปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างดำเนินกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รู้ถึงปัญหาของการจัดกิจกรรม
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดภาวะภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตายเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย |
30.00 | 20.00 |
|
|
2 | เพื่อสร้างความรักความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว ตัวชี้วัด : สมาชิกครอบครัวตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว เข้าใจหลักการดำเนินชีวิตที่เหมาะสม รู้เท่าทันและเฝ้าระวังปัญหาของครอบครัวที่อาจจะเกิดขึ้น |
30.00 | 20.00 |
|
|
3 | เพื่อเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของสมาชิกครอบครัว และปลุกฝังวิถีดำเนินชีวิตที่ดี ตัวชี้วัด : ทุกคนในครอบครัวได้รับการปลุกฝังจิตสำนึกที่ดี ตระหนักและเห็นความสำคัญของบทบาท หน้าที่ของตนเอง ต่อบุคคลในครอบครัว |
30.00 | 20.00 |
|
|
4 | เพื่อส่งเสริมการมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อจะได้ไม่สร้างปัญหาให้กับตนเอง ครอบครัว สังคม และมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไข ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีภูมิคุ้มกันในการป้องกันปัญหาต่างๆ เช่นยาเสพติด พฤติกรรมทางเพศ เป็นต้น สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
30.00 | 20.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตายเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง (2) เพื่อสร้างความรักความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว (3) เพื่อเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของสมาชิกครอบครัว และปลุกฝังวิถีดำเนินชีวิตที่ดี (4) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อจะได้ไม่สร้างปัญหาให้กับตนเอง ครอบครัว สังคม และมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไข
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมคณะทำงานก่อนจัดงาน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และกิจกรรมนันทนาการ (3) กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์และละลายพฤติกรรม (4) กิจกรรมลดความขัดแย้ง เพิ่มความเข้าใจ คนในครอบครัว (5) กิจกรรมเติมเต็มความรักให้กับครอบครัว (6) จัดประชุมคณะทำงานหลังจากจัดงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการค่ายครอบครัวอบอุ่น สู่ชุมชนเข็มแข็ง จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2479-2-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายซาฟูวัน สาแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......