กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองให้ความรู้แก่เกษตรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและส่งเสริมการใช้สมุนไพรลดโรค ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางสาวจรัลรัตน์ อัครนันท์บุญธนา ตำแหน่ง เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน




ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองให้ความรู้แก่เกษตรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและส่งเสริมการใช้สมุนไพรลดโรค

ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1485-1-33 เลขที่ข้อตกลง 32/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองให้ความรู้แก่เกษตรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและส่งเสริมการใช้สมุนไพรลดโรค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองให้ความรู้แก่เกษตรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและส่งเสริมการใช้สมุนไพรลดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองให้ความรู้แก่เกษตรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและส่งเสริมการใช้สมุนไพรลดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L1485-1-33 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สารเคมีกำจัดแมลงศัตรูพืชได้ถูกนำมาใช้อย่างมากมายซึ่งมีผลกระทบต่อสุขภาพ ทั้งตัวเกษตรกรผู้ใช้ และยังตกค้างในผลิตผลการเกษตร เช่นพืชผัก หรือแม้แต่สัตว์น้ำจึงทำให้ประชาชนผู้บริโภคทุกคนมีโอกาสได้รับสารพิษเข้าสู่ร่างกาย ซึ่งนำไปสู่การมีสุขภาพที่อ่อนแอจนถึงเกิดโรคมากมายเช่น เหน็บชา โลหิตจาง แพ้พิษสารเคมี หรือมะเร็ง ปัจจุบันการตรวจคัดกรอง ค้นหาภาวะเสี่ยงเบื้องต้น มีเทคโนโลยีที่ง่ายและราคาถูก รวมถึงผู้ที่มีภาวะเสี่ยงก็สามารถส่งเสริมสุขภาพได้ทั้งการให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการใช้สมุนไพรไทยล้างพิษ อันจะเป็นการส่งเสริมสุขภาพประชาชนเพื่อลดโรคร้ายแรงที่จะเกิดตามมา จากการเฝ้าระวังและเก็บข้อมูลผลการตรวจเลือดประชาชนกลุ่มเสี่ยง ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะเหลียน ตั้งแต่ปี ๒๕๕8 ถึง ๒๕60 พบว่า มีประชาชนกลุ่มที่มีความเสี่ยง อยู่ระหว่างร้อยละ 2๐.00 – 38.๙2 และในปี ๒๕60 มีแนวโน้มจะสูงขึ้น ทั้งนี้ผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงเหล่านี้ จังหวัดตรังได้ส่งเสริมการใช้สมุนไพรไทยรางจืดเพื่อส่งเสริมสุขภาพและลดภาวะเสี่ยง ซึ่งจากข้อมูลพบว่าวิธีดังกล่าวได้ผลดี โดยทำให้กลุ่มเสี่ยงกลับไปเป็นกลุ่มปกติ ถึงร้อยละ ๙6.55 จังหวัดตรังได้กำหนดยุทธศาสตร์จังหวัดเพื่อรองปัญหาสุภาพตามกลุ่มวัย ซึ่งกลุ่มหนึ่งที่เป็นเป้าหมายสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพคือกลุ่มวัยแรงงาน เนื่องจากกลุ่มนี้คือกำลังหลักของสังคมที่จะขับเคลื่อนเศรษฐกิจและดูแลสถาบันครอบครัว       โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะเหลียน จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองค้นหาความเสี่ยงสุขภาพประชาชน จากภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช และส่งเสริมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรค ด้วยสมุนไพรรางจืดขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อ ให้เกษตรกรและประชาชนผู้บริโภค ได้รับการเจาะเลือด ตรวจคัดกรอง ค้นหาระดับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ตกค้างในร่างกายโดยวิธี Reactive Paper test
  2. 2. เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยและความสูญเสียจากปัจจัยเสี่ยงทางกายและจิต
  3. 3. ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เรื่องสมุนไพรรางจืดมากขึ้น และสามารถใช้บริโภค ลดความเสี่ยงโรคที่เกิดจากพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการเจาะเลือด ตรวจคัดกรอง และค้นหาระดับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในร่างกาย กลุ่มที่พบผลผิดปกติ ได้รับสมุนไพรรางจืดเพื่อล้างพิษ
      1. กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการอบรม มีความรู้และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้ ๓. ประชาชนมีความรู้ และบริโภคสมุนไพรรางจืด เพื่อลดความเสี่ยงที่เกิดจากพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืช

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อ ให้เกษตรกรและประชาชนผู้บริโภค ได้รับการเจาะเลือด ตรวจคัดกรอง ค้นหาระดับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ตกค้างในร่างกายโดยวิธี Reactive Paper test
    ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้รับการเจาะเลือด ตรวจคัดกรอง ค้นหาระดับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ตกค้างในร่างกายโดยวิธี Reactive Paper test 2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงทุกคน ที่ตรวจพบภาวะเสี่ยง ในระดับ มีความเสี่ยง และระดับไม่ปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพรรางจืด
    0.00

     

    2 2. เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยและความสูญเสียจากปัจจัยเสี่ยงทางกายและจิต
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 3. ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เรื่องสมุนไพรรางจืดมากขึ้น และสามารถใช้บริโภค ลดความเสี่ยงโรคที่เกิดจากพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องสมุนไพรรางจืด และสามารถใช้บริโภค ลดความเสี่ยงโรคที่เกิดจากพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้อย่างถูกต้อง-ร้อยละ 80
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อ ให้เกษตรกรและประชาชนผู้บริโภค ได้รับการเจาะเลือด  ตรวจคัดกรอง ค้นหาระดับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ตกค้างในร่างกายโดยวิธี  Reactive Paper test (2) 2. เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยและความสูญเสียจากปัจจัยเสี่ยงทางกายและจิต (3) 3. ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เรื่องสมุนไพรรางจืดมากขึ้น และสามารถใช้บริโภค ลดความเสี่ยงโรคที่เกิดจากพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้อย่างถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการตรวจคัดกรองให้ความรู้แก่เกษตรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและส่งเสริมการใช้สมุนไพรลดโรค จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 64-L1485-1-33

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวจรัลรัตน์ อัครนันท์บุญธนา ตำแหน่ง เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด