กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา


“ โครงการ 365 วัน เดิน ขี่ ขับ ไป - กลับ ปลอดภัย ”

ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนันทา ด้วงวงศ์

ชื่อโครงการ โครงการ 365 วัน เดิน ขี่ ขับ ไป - กลับ ปลอดภัย

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L336325641006 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ 365 วัน เดิน ขี่ ขับ ไป - กลับ ปลอดภัย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ 365 วัน เดิน ขี่ ขับ ไป - กลับ ปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ 365 วัน เดิน ขี่ ขับ ไป - กลับ ปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L336325641006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มกราคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อุบัติเหตุจราจร จัดเป็นปัญหาสำคัญอันดับต้นๆ ของประเทศโดยในแต่ละปีมีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตเป็นจำนวนมากแม้รัฐบาลจะกำหนดนโยบายออกมาเพื่อป้องกันควบคุมอุบัติเหตุแล้วก็ตาม แต่จำนวน ผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตกลับทวีเพิ่มจำนวนสูงขึ้นเรื่อยๆ ส่วนใหญ่เกิดจากผู้ใช้รถจักรยานยนต์เป็นพาหนะ คิดเป็ฯร้อยละ 91.6 ของผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทั้งหมดและร้อยละ 89.9 ของผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจากยานพาหนะทุกประเภท จากปัญหาดังกล่าวมีผลมาจากปัจจัยทางด้านพฤติกรรมของบุคคลซึ่งได้แก่ การไม่สวมหมวกนิรภัยขณะขับขี่ เมาสุรา ในขณะขับขี่ การไม่มีมารยาทในการขับขี่และการไม่ปฏิบัติตามกฏจราจร ประกอบกับสภาพพื้นผิวจราจรเป็นหลุมจากผลการสำรวจข้อมูลการสวมหมวกนิรภัยของประชาชนพบว่า มีค่าเฉลี่ยการสวมหมวกนิรภัยบนท้องถนน เพียงร้อยละ 40 เท่านั้น จากข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุอัตราป่วย (ผู้บาดเจ็บ) จากอุบัติเหตุการขนส่งทางบก ในอำเภอศีรนครินทร์ ปี 2560 จำนวน 251 ราย คิดเป็นอัตรา 940.81 ต่อแสน ปี 2561 จำนวน 339 ราย คิดเป็นอัตรา 1272.66 ต่อแสน และปี 2562 จำนวน 338 ราย คิดเป็นอัตรา 1268.45 ต่อแสน และอัตราป่วย (ต่อแสน ปชก.) อัตราตายจากอุบัติเหตุการขนส่งทางบก (ต่อแสน ปชก.) ปี 2560 คิดเป็นอัตรา 25.50 ต่อแสน ปี 2561 คิดเป็นอัตรา 28.50 ต่อแสน และปี 2562 คิดเป็นอัตรา 23.04 ต่อแสน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำใน ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกดล่าว จึงได้จัดทำโครงการ 365 วัน เดิน ขี่ ขับ ไป - กลับ ปลอดภัย ประจำปี 2564 เพื่อสร้างความเข้าใจและความตระหนักในการป้องกันตัวเองขณะขับขี่ ลดความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุและการบาดเจ็บรุนแรงอาจถึงขั้นพิการหรือเสียชีวิต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมการขับขี่อย่างปลอดภัย ถูกต้องตามกฏจราจร
  2. เพื่อส่งเสริมให้แกนนำในหมู่บ้านเป้นต้นแบบในการขับขี่อย่างปลอดภัย และปฏิบัติตามกฏจราจร
  3. เพื่อลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุทางถนน อัตราการบาดเจ็บและลดอัตราตายจากอุบัติเหตุจราจร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องการขับขี่ปลอดภัยและกฏจราจร จำนวน 1 วัน
  2. กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ป้องกันอบัติเหตุทางถนน ขับขี่ปลอดภัยใส่หมวกกันน็อค คาดเข็มขัดนิรภัยอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลวันหยุด
  3. อบรมให้ความรู้แกนนำในหมู่บ้านและ อสม. เรื่องการขับขี่ปลอดภัยและกฏจราจร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แกนนำชุมชนมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับวินัยจราจร
  2. อัตราการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจรลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมการขับขี่อย่างปลอดภัย ถูกต้องตามกฏจราจร
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 70
60.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้แกนนำในหมู่บ้านเป้นต้นแบบในการขับขี่อย่างปลอดภัย และปฏิบัติตามกฏจราจร
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 70
60.00

 

3 เพื่อลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุทางถนน อัตราการบาดเจ็บและลดอัตราตายจากอุบัติเหตุจราจร
ตัวชี้วัด : ลดลงร้อยละ 60
60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการขับขี่อย่างปลอดภัย ถูกต้องตามกฏจราจร (2) เพื่อส่งเสริมให้แกนนำในหมู่บ้านเป้นต้นแบบในการขับขี่อย่างปลอดภัย และปฏิบัติตามกฏจราจร (3) เพื่อลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุทางถนน อัตราการบาดเจ็บและลดอัตราตายจากอุบัติเหตุจราจร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องการขับขี่ปลอดภัยและกฏจราจร จำนวน 1 วัน (2) กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ป้องกันอบัติเหตุทางถนน ขับขี่ปลอดภัยใส่หมวกกันน็อค คาดเข็มขัดนิรภัยอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลวันหยุด (3) อบรมให้ความรู้แกนนำในหมู่บ้านและ อสม. เรื่องการขับขี่ปลอดภัยและกฏจราจร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ 365 วัน เดิน ขี่ ขับ ไป - กลับ ปลอดภัย จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L336325641006

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนันทา ด้วงวงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด