กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง


“ โครงการภาคีเครือข่ายต้านภัยป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกต่อเนื่องปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวยิ่ง วิลัยพงษ์

ชื่อโครงการ โครงการภาคีเครือข่ายต้านภัยป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกต่อเนื่องปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 057/64

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการภาคีเครือข่ายต้านภัยป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกต่อเนื่องปีงบประมาณ 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการภาคีเครือข่ายต้านภัยป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกต่อเนื่องปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการภาคีเครือข่ายต้านภัยป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกต่อเนื่องปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในการนี้ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการเร่งรัด การควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และการส่งเสริมการป้องกันโรคและการระบาดของโรคในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการภาคเครือข่ายป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี ๒๕๖๑ขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันต่างๆ โรงเรียน รวมทั้งประชาชนโดยทั่วไป ได้ทราบและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก  โดยการจัดกิจกรรมให้ความรู้และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์แบบครอบคลุมในพื้นที่เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชนอย่างเร่งด่วน ส่งผลให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบ
  2. 2.เพื่อป้องกันและควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ
  2. ประชาสัมพันธ์โครงการ โดยใช้ไวนิลและเสียงตามสาย
  3. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกในชุมชน
  4. กิจกรรม Big Cleaning Day ลดขยะ ลดยุง ลดโรค
  5. กิจกรรมกรณีเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  6. ติดตามประเมินผลโครงการ
  7. ประชุมสรุปโครงการ
  8. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ
  9. ประชาสัมพันธ์โครงการ โดยใช้ไวนิลและเสียงตามสาย
  10. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกในชุมชน
  11. กิจกรรม Big Cleaning Day ลดขยะ ลดยุง ลดโรค
  12. กิจกรรมกรณีเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  13. ติดตามประเมินผลโครงการ
  14. ประชุมสรุปโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,987
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก

๒. เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้เกิดความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

๓.ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินโครงการ

 

0 0

2. ประชาสัมพันธ์โครงการ โดยใช้ไวนิลและเสียงตามสาย

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์โครงการ โดยใช้ไวนิลและเสียงตามสายของชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการประชาสัมพันธ์ โครงการโดยใช้สื่อเสียงตามสาย และไวนิลในชุมชน

 

0 0

3. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกในชุมชน

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมเดินรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกในชุมชน ร่วมกันการเดินรณรงค์ลดขยะ ลดการใช้โฟม เพื่อไม่ให้มีแหน่งเพาะพันธ์ุยุงลายในอนาคต ตามพื้นที่ในชุมชน และบ้านเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เกิดการเดินรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกในชุมชน
  • คนในชุมชนมีความรู็เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่

 

0 0

4. กิจกรรม Big Cleaning Day ลดขยะ ลดยุง ลดโรค

วันที่ 22 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรม Big Cleaning Day ลดขยะ ลดยุง ลดโรค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดกิจกรรม Big Cleaning Day ลดขยะ ลดยุง ลดโรค

  • เกิดการทำกิจกรรมร่วมกันของคนในพื้นที่ และหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่

  • เกิดการจัดการขยะ และแหล่งเพาะพันธุ์ยังลายในพื้นที่

 

0 0

5. กิจกรรมกรณีเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่

วันที่ 28 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมกรณีเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีการส่งเสริมป้องกันพื้นที่เสียงประชาชน จำนวน ๖,๙๘๗ คนจำนวนหลังคาเรือน ๑,๙๔๔ หลังคาเรือน
  • มีการให้ความรู้คนในพื้นที่เสี่ยง จำนวน ๖,๙๘๗ คนจำนวนหลังคาเรือน ๑,๙๔๔ หลังคาเรือน ได้รับความรู้รู้จักป้องกันและตระหนักถึงปัญหาโณคไข้เลือดออกที่มียุงลายเป็นพาหนะ

 

0 0

6. ติดตามประเมินผลโครงการ

วันที่ 16 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • คนมีอันตรป่วยเป็นโรคไข้เลือกออกลดลง

  • แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายลดลง

  • เกิดนวัตกรรมถุงผ้าลดโลกร้อนในพื้นที่

 

0 0

7. ประชุมสรุปโครงการ

วันที่ 26 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมสรุปโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการประชุมสรุปโครงการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : มีอัตราป่วยน้อยกว่า ๕๐ ต่อแสนประชากร
0.00

 

2 2.เพื่อป้องกันและควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ลูกน้ำยุงลาย ในชุมชนไม่ให้เกินร้อยละ ๑๐ และเท่ากับ ๐ ในสถานศึกษาและศาสนาสถาน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 6987
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,987
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบ (2) 2.เพื่อป้องกันและควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ โดยใช้ไวนิลและเสียงตามสาย (3) กิจกรรมรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกในชุมชน (4) กิจกรรม Big Cleaning Day  ลดขยะ ลดยุง ลดโรค (5) กิจกรรมกรณีเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (6) ติดตามประเมินผลโครงการ (7) ประชุมสรุปโครงการ (8) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ (9) ประชาสัมพันธ์โครงการ โดยใช้ไวนิลและเสียงตามสาย (10) กิจกรรมรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกในชุมชน (11) กิจกรรม Big Cleaning Day  ลดขยะ ลดยุง ลดโรค (12) กิจกรรมกรณีเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (13) ติดตามประเมินผลโครงการ (14) ประชุมสรุปโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการภาคีเครือข่ายต้านภัยป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกต่อเนื่องปีงบประมาณ 2564 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวยิ่ง วิลัยพงษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด