กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล


“ โครงการคุ้มครองผู้บริโภค ในชุมชนและโรงเรียน รพ.สต.ชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2564 ”

ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณฤดี พฤกษศรี

ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภค ในชุมชนและโรงเรียน รพ.สต.ชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5238-01-07 เลขที่ข้อตกลง 7/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคุ้มครองผู้บริโภค ในชุมชนและโรงเรียน รพ.สต.ชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภค ในชุมชนและโรงเรียน รพ.สต.ชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคุ้มครองผู้บริโภค ในชุมชนและโรงเรียน รพ.สต.ชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5238-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในปัจจุบัน ยังไม่สามารถดำเนินการได้อย่างครอบคลุม ความรู้ไม่เท่าทันรวมถึง ความไม่เข้มแข็งในการคุ้มครองตนเองของผู้บริโภค ทำให้ผู้บริโภคเกิดความเสี่ยงที่จะได้รับอันตราย จากสถานการณ์ปัญหาด้าน ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ในด้านต่างๆ เช่น ปัญหาการบริโภคยาชุด ยาสเตียรอยด์ การบริโภคผลิตภัณฑ์ เสริมอาหารจากการหลงเชื่อโฆษณา การบริโภคอาหารที่มีสารปนเปื้อนอันตราย กลยุทธ์ทางด้านการตลาดผู้ผลิตย่อมต้องการกำไรสูงสุด ภายใต้เทคนิคการส่งเสริมการขายที่หลากหลาย มีการลด แลก แจก แถม อวดอ้าง สรรพคุณเกินความเป็นจริง รวมทั้งยังมีการเปิดเผยข้อมูลเพียงบางส่วนที่เป็นด้านดีเท่านั้น ส่วนข้อมูลทาง ด้านลบของ ผลิตภัณฑ์ก็มักจะมีการปกปิดเอาไว้ โดยมิได้คำนึงถึงสิทธิในการรับรู้ข่าวสารของผู้บริโภค นอกจากนี้ในปัจจุบัน สื่อสารมวลชนเข้ามามีบทบาทอย่างมากในกระบวนการตลาด การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ จะยิ่งส่งเสริมการบริโภคในสังคมอย่างมากหรือที่เรียกกันว่าเกิดลัทธิบริโภคนิยมขึ้นใน สังคม ทำให้ผู้บริโภคเกิดความต้องการที่จะบริโภคเกินกว่าความต้องการที่แท้จริง ตัวอย่างรูปธรรมที่เกิดขึ้น เช่น การบริโภค อาหารหรือยาอย่างฟุ่มเฟือย จนบางครั้งเกิดโรคภัยไข้เจ็บจากผลิตภัณฑ์ที่ตนบริโภคเข้าไป การเผยแพร่ความรู้ที่ถูกต้องและจำเป็น เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพต่างๆ มีการจัดกระบวนการ “เชื่อมโยง” เพื่อให้ภาคีเครือข่าย ตลอด จนประชาชนในชุมชนมีความเข้มแข็ง และมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังความเสี่ยงให้กับตนเอง ครอบครัว ไป จนถึง “ชุมชน” ในรูปแบบเครือข่ายองค์กรผู้บริโภคในชุมชน อันเป็นการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภคให้เข้มแข็ง และยังพัฒนาผู้ประกอบการและสถานประกอบการให้มีมาตรฐานมากยิ่งขึ้น ซึ่งสุดท้ายย่อมจะส่งผล ให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง และอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข  จากการดำเนินการด้านการคุ้มครองผู้บริโภคปี 2563 มีการดำเนินการเก็บตัวอย่างอาหารส่งตรวจหาสารปนเปื้อน 6 ชนิด พบสารปนเปื้อนในตัวอย่างอาหารบางชนิด เช่น พริกขี้หนู และ จากการติดตามการเยี่ยมผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ยังมีการใช้ยาสมุนไพร    ผสมสเตียรอยด์ ในการักษาโรคปวดเมื่อย โรคภูมิแพ้ฯ ส่งผลต่อสุขภาพ เช่นทำให้กระดูกเปราะบางลง เป็นต้อกระจก  ความอยากอาหารเพิ่มขึ้น อารมณ์แปรปรวน  มีปัญหาในการนอนหลับ         ดังนั้น รพ.สต.ชุมพล จึงได้จัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภค ในชุมชนและโรงเรียนเพื่อส่งเสริมให้ผู้บริโภคมีภูมิต้านทานในการบริโภค ไม่ให้ถูกหลอก ลวงจากผลิตภัณฑ์หรือบริการต่างๆที่ไม่เหมาะสมได้ ตลอดจนมีส่วนร่วมในเฝ้าระวังและตรวจคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ เพื่อให้ตนเองและบุคคลในครอบครัว มีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง เหมาะสม ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย
  2. 2.เพื่อให้มีเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน
  3. 3.เพื่อให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนด
  4. 4.เพื่อให้ร้านชำผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนด
  5. 5.เพื่อให้ตลาด ผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนด
  6. 6.เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง ปลอดภัยจากการใช้ยาสงสัยปนเปื้อน สเตียรอยด์ และ ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน
  7. 7.เพื่อให้แผงจำหน่ายอาหารสดปลอดสารปนเปื้อน 6 ชนิด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค/นักเรียนมีความรู้ด้านอาหารปลอดภัย และผลิตภัณฑ์สุขภาพ สามารถให้คำแนะนำแก่บุคคลในครอบครัว ในการเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์สุขภาพหรืออาหารที่สะอาด ปลอดภัย ได้อย่างถูกต้อง ส่งผลดีต่อสุขภาพของประชาชนในชุมชน ต่อไป


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพเพิ่มขึ้น ร้อยละ 100
    0.00

     

    2 2.เพื่อให้มีเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 2.เกิดเครือข่ายคุมครองผู้บริโภคในชุมชน 1 เครือข่าย
    0.00

     

    3 3.เพื่อให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนด
    ตัวชี้วัด : 3.ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนด ร้อยละ 80
    0.00

     

    4 4.เพื่อให้ร้านชำผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนด
    ตัวชี้วัด : 4.ร้านชำได้รับการตรวจเยี่ยมและคำแนะนำ ร้อยละ 80 ของจำนวนร้านชำทั้งหมดในพื้นที่ และ ผ่านเกณฑ์ประเมิน อย่างน้อยร้อยละ 40 ของ จำนวนร้านชำที่ลงเยี่ยม
    0.00

     

    5 5.เพื่อให้ตลาด ผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนด
    ตัวชี้วัด : 5.ตลาด ผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนด ร้อยละ 50
    0.00

     

    6 6.เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง ปลอดภัยจากการใช้ยาสงสัยปนเปื้อน สเตียรอยด์ และ ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน
    ตัวชี้วัด : 6.ผู้ป่วยเรื้อรังได้รับการเยี่ยมบ้านและตรวจสอบ การใช้ยาสงสัยปนเปื้อน สเตียรอยด์ และ ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน อย่างน้อย 6 หลังคาเรือน
    0.00

     

    7 7.เพื่อให้แผงจำหน่ายอาหารสดปลอดสารปนเปื้อน 6 ชนิด
    ตัวชี้วัด : 7.แผงจำหน่ายอาหารสดปลอดสารปนเปื้อน 6 ชนิด ร้อยละ 90
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย (2) 2.เพื่อให้มีเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน (3) 3.เพื่อให้ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนด (4) 4.เพื่อให้ร้านชำผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนด (5) 5.เพื่อให้ตลาด ผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนด (6) 6.เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง ปลอดภัยจากการใช้ยาสงสัยปนเปื้อน สเตียรอยด์ และ ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน (7) 7.เพื่อให้แผงจำหน่ายอาหารสดปลอดสารปนเปื้อน 6 ชนิด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการคุ้มครองผู้บริโภค ในชุมชนและโรงเรียน รพ.สต.ชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา ปี 2564 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 64-L5238-01-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวรรณฤดี พฤกษศรี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด