กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน


“ เสริมสร้างความรู้ ทักษะชีวิตป้องกันยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชน ”

ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายประชา หนูหมาด

ชื่อโครงการ เสริมสร้างความรู้ ทักษะชีวิตป้องกันยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชน

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5295-1-08 เลขที่ข้อตกลง 9/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"เสริมสร้างความรู้ ทักษะชีวิตป้องกันยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เสริมสร้างความรู้ ทักษะชีวิตป้องกันยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชน



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี (2) เพื่อลดจำนวนผู้ติดยาเสพติดที่เสพยาอย่างต่อเนื่องจนมีความบกพร่องต่อหน้าที่ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำหมู่บ้าน และอสม. จัดทำแผนการดำเนินงานและการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามโครงการ (2) .ประกวดเยาวชนต้นแบบการบ้องกันยาเสพติด (3) จัดอบรมให้ความรู้และทักษะชีวิตให้เยาวชน จำนวน 40 คน จากผู้มีประสบการณ์และจากสถานที่ จริงของเรือนจำ จังหวัดสตูล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ควรมีการเฝ้าระวังทั้งในครอบครัว ชุมชน การดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้ห่างไกลยาเสพติด

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาแดงยังพบปัญหายาเสพติด และในกลุ่มเยาวชนในพื้นที่ มีพฤติกรรมเสี่ยง ของการเสพยาเสพติดในพื้นที่ ซึ่งจะเป็นปัญหา ครอบครัว ที่มีผลในการดำเนินชีวิตในสังคม ต่อไป และเป็นปัญหาระดับชาติที่ต้อง มีทุกหน่วยงาน ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในเยาวชน
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาแดงจึงได้ทำโครงการ “เยาวชนป่าแก่บ่อหิน มีความเรื่องยาเสพติด และทักษะการดำเนินชีวิต” ประจำปี 2564 ขึ้นโดยให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาในทุกกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน และส่งผลให้เยาวชนในตำบลป่าแก่บ่อหินมีคุณภาพชีวิตที่ดีในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี
  2. เพื่อลดจำนวนผู้ติดยาเสพติดที่เสพยาอย่างต่อเนื่องจนมีความบกพร่องต่อหน้าที่ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำหมู่บ้าน และอสม. จัดทำแผนการดำเนินงานและการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามโครงการ
  2. .ประกวดเยาวชนต้นแบบการบ้องกันยาเสพติด
  3. จัดอบรมให้ความรู้และทักษะชีวิตให้เยาวชน จำนวน 40 คน จากผู้มีประสบการณ์และจากสถานที่ จริงของเรือนจำ จังหวัดสตูล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เยาวชนมีบุคคลตัวอย่างที่ไม่ยุ่งเกี่ยวยาเสพติดอย่างน้อย หมู่บ้านละ 1 คน
    1. เยาวชนมีความรู้เรื่องยาเสพติด ร้อยละ100
    2. เยาวชนมีทักษะชีวิตการป้องกันยาเสพติดในชุมชน ร้อยละ100
  2. จำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. .ประกวดเยาวชนต้นแบบการบ้องกันยาเสพติด

วันที่ 1 กันยายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประกวดเยาวชนต้นแบบการป้องกันยาเสพติด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีเยาวชนต้นแบบการป้องกันยาเพสติด จำนวน 7  คน

 

40 0

2. จัดอบรมให้ความรู้และทักษะชีวิตให้เยาวชน จำนวน 40 คน จากผู้มีประสบการณ์และจากสถานที่ จริงของเรือนจำ จังหวัดสตูล

วันที่ 1 กันยายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมและศึกษาดูงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมศึกษาดูงานจำนวน 40 คน

 

40 0

3. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำหมู่บ้าน และอสม. จัดทำแผนการดำเนินงานและการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามโครงการ

วันที่ 30 กันยายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ อบรมเสริมสร้างความรู้และทักษะชีวิตป้องกันยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชน อบรมความรู้เรื่องยาเสพติดและเสวนาทักษะการป้องกันยาเสพติดในเยาวชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 83 คน

 

83 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ประชุมชี้แจง แกนนำสุขภาพ จำนวน 83 คน คิดเป้นร้อยละ 100
  2. อบรมและศึกษาดูงาน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 100
  3. เยาวชนต้นแบบการป้องกันยาเสพติด 7 คน คิดเป็นร้อยละ 100

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(คน)
15.00 0.00 0.00

 

2 เพื่อลดจำนวนผู้ติดยาเสพติดที่เสพยาอย่างต่อเนื่องจนมีความบกพร่องต่อหน้าที่ในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ติดยาเสพติดที่เสพยาอย่างต่อเนื่องจนมีความบกพร่องต่อหน้าที่ในชุมชน ลดลงเหลือ(คน)
5.00 0.00 4.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 83
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40 83
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี (2) เพื่อลดจำนวนผู้ติดยาเสพติดที่เสพยาอย่างต่อเนื่องจนมีความบกพร่องต่อหน้าที่ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำหมู่บ้าน และอสม. จัดทำแผนการดำเนินงานและการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามโครงการ (2) .ประกวดเยาวชนต้นแบบการบ้องกันยาเสพติด (3) จัดอบรมให้ความรู้และทักษะชีวิตให้เยาวชน จำนวน 40 คน จากผู้มีประสบการณ์และจากสถานที่ จริงของเรือนจำ จังหวัดสตูล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ควรมีการเฝ้าระวังทั้งในครอบครัว ชุมชน การดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้ห่างไกลยาเสพติด

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เสริมสร้างความรู้ ทักษะชีวิตป้องกันยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5295-1-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประชา หนูหมาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด