กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง


“ โครงการปันยิ้มสร้างสุขสูงวัยกายใจแข็งแรง รุ่นที่ 3 ประจำปี 2564 ”

ณ อบต.มาโมง ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลมาโมง ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลมาโมง

ชื่อโครงการ โครงการปันยิ้มสร้างสุขสูงวัยกายใจแข็งแรง รุ่นที่ 3 ประจำปี 2564

ที่อยู่ ณ อบต.มาโมง ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2532-3-10 เลขที่ข้อตกลง 08/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปันยิ้มสร้างสุขสูงวัยกายใจแข็งแรง รุ่นที่ 3 ประจำปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ณ อบต.มาโมง ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปันยิ้มสร้างสุขสูงวัยกายใจแข็งแรง รุ่นที่ 3 ประจำปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปันยิ้มสร้างสุขสูงวัยกายใจแข็งแรง รุ่นที่ 3 ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ณ อบต.มาโมง ตำบลมาโมง อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2532-3-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มาโมง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล
ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงและเตรียมพร้อมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี และใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขเป็นเรื่องสำคัญ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศไทย ทำให้ประชากรในวัยผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น กอปรกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม มีผลให้ลักษณะครอบครัวไทย เปลี่ยนจากครอบครัวขยาย (Extend Family) ไปสู่ครอบครัวเดี่ยว (Nuclear Family) ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกใน ครอบครัวลดลง จำนวนผู้ที่จะทำหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวลดลง มีเวลาให้ผู้สูงอายุลดลง ขาดการให้ความรักและ ความอบอุ่น ผู้สูงอายุจึงถูกทอดทิ้งให้อยู่โดดเดี่ยวและดำเนินชีวิตเพียงลำพัง สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมปัจจุบัน ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจและค่านิยมต่างๆซึ่งก่อให้ผู้สูงอายุเกิดความน้อยใจ ความเครียด ความคับข้องใจ แยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัว ท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิต ประกอบกับวัยสูงอายุเป็นวัยที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ ต้องออกจากงานมีรายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเสื่อมลง มีโรคทางกายเพิ่มมากขึ้น มีสารชีวเคมีและฮอร์โมนลดลง การสูญเสียสิ่งสำคัญของชีวิต เช่น การสูญเสียคู่ชีวิตเพราะตายจาก การสูญเสียบุตรเพราะแยกไปมีครอบครัว การสูญเสียตำแหน่งหน้าที่การงาน การสูญเสียสถานภาพหรือบทบาททางสังคม ตลอดจนการสูญเสียการเป็นที่พึ่งของครอบครัว สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของผู้สูงอายุ หากผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้วจะยิ่งทำให้ผู้สูงอายุว้าเหว่มีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ลดลง จนเกิดความรู้สึกสิ้นหวัง แยกตัวออกจากสังคมเป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้
กองสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำบลมาโมง ได้จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุตำบลมาโมงและโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลมาโมง เมื่อปี 2562 โดยชมรมผู้สูงอายุเป็นผู้ดำเนินกิจกรรมของชมรมและกองสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำบลมาโมง มีหน้าที่ส่งเสริมการพัฒนาผู้สูงอายุ และเป็นที่ปรึกษาของโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลมาโมง ได้เล็งเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุในพื้นที่ โดยถือว่าเป็นกลุ่มบุคคลที่ควรค่าแก่การรักษาดูแลให้มีชีวิตที่ดีตามวัยของผู้อาวุโส และยังเป็นการสนองนโยบายของกรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และองค์กรชุมชนที่มีเป้าหมายและเจตนารมณ์ร่วมกันในการผลักดันให้มีโรงเรียนผู้สูงอายุ ครอบคลุมทุกพื้นที่มากที่สุด อย่างไรก็ตามการดำเนินการภายใต้โรงเรียนผู้สูงอายุต้องมีการบูรณาการแบบมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ในแนวคิดที่ว่า"ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมสร้าง" และต้องมีส่วนร่วมในกระบวนการเพื่อให้เกิดการพัฒนาผู้สูงอายุอย่างเป็นองค์รวมโดยสิ่งที่สำคัญที่สุดคือ ต้องทำกิจกรรม 3 อ. คือ อาหาร อารมณ์และออกกำลังกาย โดยเป็นเรื่องที่น่ายินดี ที่มีผู้สูงอายุให้ความสนใจในการดูแลตัวเอง ด้วยเหตุผลดังกล่าว กองสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำบลมาโมง จึงได้เห็นความสำคัญและขอมาเป็นส่วนหนึ่งร่วมกับชมรมผู้สูงอายุในโครงการปันยิ้มสร้างสุข สูงวัยกายใจแข็งแรง รุ่นที่ 3 ประจำปี 2564 โดยคอยสนับสนุนอำนวยความสะดวกและแนะนำในการดำเนินกิจกรรมชมรมและถือเป็นการเชิญชวนสมาชิกใหม่ๆเข้ารวมกิจกรรมในโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลมาโมง โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลมาโมง จึงเชิญชวนเพื่อนๆ ผู้สูงอายุใหม่ มาร่วมกิจกรรมเพื่อดูแลสร้างความเชื่อมั่น สร้างขวัญกำลังใจ เพื่อให้ผู้สูงอายุด้วยกันไม่รู้สึกโดดเดี่ยว และมีกำลังใจพร้อมที่จะต่อสู้กับชีวิตด้วยสุขภาพจิตที่ดี จึงได้จัดทำโครงการปันยิ้มสร้างสุขสูงวัยกายใจแข็งแรง รุ่นที่ 3 ประจำปี 2564 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เข้าร่วมกิจกรรม ผ่อนคลายความตึงเครียด รู้สึกมีกำลังใจ เชื่อมั่นในตัวเอง และอยู่เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรแก่ลูกหลานสืบไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองใช้ชีวิตตามรอยแห่งความพอเพียงมีส่วนร่วมใน กิจกรรมของชุมชน
  2. เพื่อแสดงศักยภาพภูมิความรู้ ประสบการณ์ที่สั่งสมมาถ่ายทอดแก่บุคคลอื่นได้
  3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้นได้และพึ่งผู้อื่นให้น้อยที่สุด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เบิกค่าป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 ป้าย ขนาด 1 x 3 เมตร
  2. เบิกค่าวัสดุอุปกรณ์
  3. ค่าตอบแทนวิทยากร ชั่วโมงละ 600 x 6 ชั่วโมง
  4. ปฐมนิเทศ , สาธารณสุขตำบลตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ ,คุยกับหมอ (การดูแลสุขภาพที่จำเป็นของผู้สูงอายุ) , กิจกรรมสัมพันธ์ผู้สูงอายุ (กิจกรรมพบปะเพื่อนใหม่)
  5. การฝึกอาชีพ (การทำผ้ามัดย้อม) เพื่อฝึกศักยภาพฝีมือของผู้สูงอายุ
  6. การฝึกอาชีพ (การทำผ้ามัดย้อม) เพื่อฝึกศักยภาพฝีมือของผู้สูงอายุ (ต่อ) , กิจกรรมนันทนาการ
  7. กิจกรรมโภชนาการอาหาร , อาหารเพื่อสุขภาพ , การดูแลสุขภาพช่องปากสำหรับผู้สูงอายุ, กิจกรรมการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ
  8. การดูแลสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ ,กิจกรรมเข้าจังหวะ (บาสโลบ) , กิจกรรมดนตรีบำบัด
  9. กิจกรรมธนาคารความดี , การบำเพ็ญประโยชน์แก่สังคม ,กิจกรรมเยี่ยมบ้านเพื่อนผู้สูงอายุป่วยติดเตียง และเยี่ยมผู้ด้อยโอกาส
  10. กิจกรรมให้ความรู้ เรื่องกฎหมายผู้สูงอายุ กฎหมายพินัยกรรม กฎหมายมรดก สิทธิพื้นฐานของผู้สูงอายุ , กิจกรรมการให้ความรู้ เรื่องสื่อออนไลน์กับผู้สูงอายุ , กิจกรรมนันทนาการ , กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
  11. กีฬาสัมพันธ์ผู้สูงอายุ ภายใต้กิจกรรมแก่อย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีความสุข
  12. กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ( กิจกรรมธรรมชาติบำบัด )
  13. กิจกรรมมอบประกาศนียบัตรผู้ผ่านการร่วมกิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุ รุ่นที่ 3ประเมินผลโครงการ ตลอดจนข้อเสนอแนะ ปัญหาต่าง ๆ เพื่อปรับปรุงและเป็นข้อมูลในการดำเนินโครงการต่อไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองใช้ชีวิตตามรอยแห่งความพอเพียงมีส่วนร่วมใน กิจกรรมและผ่อนคลายความตึงเครียด
  2. ผู้สูงอายุมีความรู้ สามารถเล่าประสบการณ์ที่สั่งสมมาถ่ายทอดแก่บุคคลอื่นและแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน
  3. ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้นได้และพึ่งผู้อื่นน้อยที่สุด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองใช้ชีวิตตามรอยแห่งความพอเพียงมีส่วนร่วมใน กิจกรรมของชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อแสดงศักยภาพภูมิความรู้ ประสบการณ์ที่สั่งสมมาถ่ายทอดแก่บุคคลอื่นได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้นได้และพึ่งผู้อื่นให้น้อยที่สุด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองใช้ชีวิตตามรอยแห่งความพอเพียงมีส่วนร่วมใน กิจกรรมของชุมชน (2) เพื่อแสดงศักยภาพภูมิความรู้ ประสบการณ์ที่สั่งสมมาถ่ายทอดแก่บุคคลอื่นได้ (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้นได้และพึ่งผู้อื่นให้น้อยที่สุด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เบิกค่าป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 ป้าย ขนาด 1 x 3 เมตร (2) เบิกค่าวัสดุอุปกรณ์ (3) ค่าตอบแทนวิทยากร ชั่วโมงละ 600 x 6 ชั่วโมง (4) ปฐมนิเทศ , สาธารณสุขตำบลตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ ,คุยกับหมอ (การดูแลสุขภาพที่จำเป็นของผู้สูงอายุ) , กิจกรรมสัมพันธ์ผู้สูงอายุ (กิจกรรมพบปะเพื่อนใหม่) (5) การฝึกอาชีพ (การทำผ้ามัดย้อม) เพื่อฝึกศักยภาพฝีมือของผู้สูงอายุ (6) การฝึกอาชีพ (การทำผ้ามัดย้อม) เพื่อฝึกศักยภาพฝีมือของผู้สูงอายุ (ต่อ) , กิจกรรมนันทนาการ (7) กิจกรรมโภชนาการอาหาร , อาหารเพื่อสุขภาพ , การดูแลสุขภาพช่องปากสำหรับผู้สูงอายุ, กิจกรรมการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ (8) การดูแลสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ ,กิจกรรมเข้าจังหวะ (บาสโลบ) , กิจกรรมดนตรีบำบัด (9) กิจกรรมธนาคารความดี , การบำเพ็ญประโยชน์แก่สังคม ,กิจกรรมเยี่ยมบ้านเพื่อนผู้สูงอายุป่วยติดเตียง และเยี่ยมผู้ด้อยโอกาส (10) กิจกรรมให้ความรู้ เรื่องกฎหมายผู้สูงอายุ กฎหมายพินัยกรรม กฎหมายมรดก สิทธิพื้นฐานของผู้สูงอายุ  , กิจกรรมการให้ความรู้ เรื่องสื่อออนไลน์กับผู้สูงอายุ ,  กิจกรรมนันทนาการ , กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (11) กีฬาสัมพันธ์ผู้สูงอายุ ภายใต้กิจกรรมแก่อย่างมีคุณค่า  ชราอย่างมีความสุข (12) กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ( กิจกรรมธรรมชาติบำบัด ) (13) กิจกรรมมอบประกาศนียบัตรผู้ผ่านการร่วมกิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุ รุ่นที่ 3ประเมินผลโครงการ ตลอดจนข้อเสนอแนะ ปัญหาต่าง ๆ เพื่อปรับปรุงและเป็นข้อมูลในการดำเนินโครงการต่อไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปันยิ้มสร้างสุขสูงวัยกายใจแข็งแรง รุ่นที่ 3 ประจำปี 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2532-3-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลมาโมง ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลมาโมง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด