โครงการชุมชนตำบลบูกิตร่วมใจจัดการขยะและแยกขยะอันตรายเพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมทีดี ประจำปีงบประมาณ 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนตำบลบูกิตร่วมใจจัดการขยะและแยกขยะอันตรายเพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมทีดี ประจำปีงบประมาณ 2564 ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นาย นาซอรี มะเก
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนตำบลบูกิตร่วมใจจัดการขยะและแยกขยะอันตรายเพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมทีดี ประจำปีงบประมาณ 2564
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-l2479-1-10 เลขที่ข้อตกลง 33/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนตำบลบูกิตร่วมใจจัดการขยะและแยกขยะอันตรายเพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมทีดี ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนตำบลบูกิตร่วมใจจัดการขยะและแยกขยะอันตรายเพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมทีดี ประจำปีงบประมาณ 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนตำบลบูกิตร่วมใจจัดการขยะและแยกขยะอันตรายเพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมทีดี ประจำปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-l2479-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาเกี่ยวกับขยะอันตรายเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบ ต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิตของประชาชนทั่วไป จากสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปีพ.ศ. 2560 พบว่า ของเสียอันตรายหรือ ขยะมลพิษ จากการดำเนินงานตามแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ.2559-2564 ในรอบ 6 เดือนแรกของปี 2560 พบว่า มีขยะมูลฝอยชุมชนเกิดขึ้น 27.39 ล้านตัน จัดการได้แล้ว 7.53 ล้านตัน คิดเป็น 28% ขยะมูลฝอยตกค้าง 30.49 ล้านตัน จัดการได้แล้ว 24.96 ล้านต้น คิดเป็น 82% และของเสียอันตรายชุมชน 606,319 ตัน จัดการได้แล้ว 545 ตันคิดเป็น 0.09% ซึ่งส่วนหนึ่งจะถูกจัดเก็บและทำลายตามข้อกำหนดของกฎหมาย แต่สำหรับของเสียที่เกิดจากกิจกรรมในสำนักงาน หน่วยงาน ราชการ รวมทั้งร้านค้า และบ้านเรือนประชาชนทั่วไปขยะอันตราย เป็นขยะที่มีองค์ประกอบหรือปนเปื้อนวัตถุอันตรายชนิดต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ วัตถุระเบิด วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทำให้เกิดโรค วัตถุกัมมันตรังสี วัตถุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุกัดกร่อน วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง วัตถุอย่างอื่น ถือเป็นขยะอันตรายที่จำเป็นต้องแยกทิ้งต่างหากเนื่องจากคุณสมบัติทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ ได้แก่ ติดไฟง่าย ระเบิดได้ มีสารกัดกร่อน ขยะพิษ เช่น ถ่านไฟฉาย หลอดไฟ กระป๋องยาฆ่าแมลง เครื่องสำอาง น้ำมันเครื่อง ภาชนะน้ำยาทำความสะอาดสุขภัณฑ์ ฯลฯ โลกปัจจุบันของมนุษย์ทุกวันนี้ เป็นโลกแห่งยุคเทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์ของใช้เกือบจะทุกชนิดที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ส่วนใหญ่ล้วนแล้วแต่เป็นสารพิษต่างๆ มากมาย ถ้าจัดการที่ไม่ถูกวิธี ทำให้เกิดผลเสีย มีการปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม และส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ที่สัมผัสด้วยความเป็นห่วงเป็นใยต่อพี่น้องประชาชนในการดำเนินชีวิตและเห็นถึงความสำคัญในการคัดแยกขยะมูลฝอยของเสียอันตรายจากต้นทางที่ครัวเรือน
องค์การบริหารส่วนตำบลบูกิต ได้ร่วม กับผู้นำหมู่บ้าน คณะกรรมการทุกหมู่บ้าน เล็งเห็นปัญหา ความสำคัญที่ต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วน จึงได้จัดทำ โครงการชุมชนตำบลบูกิตร่วมใจจัดการขยะและแยกขยะอันตรายเพื่อคุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อมทีดี เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนในพื้นที่ หน่วยงานราชการได้ คัดแยกและจัดการขยะอันตราย อย่างถูกวิธีได้มีส่วนร่วมในดำเนินงานด้านการคัดแยกขยะอันตราย/รวบรวม และนำไปกำจัดอย่างถูกหลักสุขาภิบาล และเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์โครงการและรณรงค์ให้มีการคัดแยกของเสียอันตรายเพื่อนำไปสู่การกำจัดที่ถูกต้อง จึงมีวิธีในการคัดแยกขยะประเภทต่าง ๆ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ
- เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ
- เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะและแยกขยะอันตรายในชุมชน
- สร้างแกนนำและครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะและแยกขยะอันตรายในระดับครัวเรือน
- รณรงค์ก่อนเข้าแถวเคารพธงชาติ และให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะและแยกขยะอันตรายหน้าเสาธง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนในครัวเรือนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
2.หน่วยงาน/องค์กรที่มีนโยบายจัดการขยะที่ถูกต้อง
3.มีแกนนำและครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง
4.ประชาชนในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการคัดแยกของเสีบอันตรายจากชุมชนมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
0.00
2
เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
0.00
3
เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนหน่วยงาน/องค์กรที่มีนโยบายจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
180
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
80
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ (2) เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ (3) เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะและแยกขยะอันตรายในชุมชน (2) สร้างแกนนำและครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะและแยกขยะอันตรายในระดับครัวเรือน (3) รณรงค์ก่อนเข้าแถวเคารพธงชาติ และให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะและแยกขยะอันตรายหน้าเสาธง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนตำบลบูกิตร่วมใจจัดการขยะและแยกขยะอันตรายเพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมทีดี ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-l2479-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นาย นาซอรี มะเก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนตำบลบูกิตร่วมใจจัดการขยะและแยกขยะอันตรายเพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมทีดี ประจำปีงบประมาณ 2564 ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นาย นาซอรี มะเก
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-l2479-1-10 เลขที่ข้อตกลง 33/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนตำบลบูกิตร่วมใจจัดการขยะและแยกขยะอันตรายเพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมทีดี ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนตำบลบูกิตร่วมใจจัดการขยะและแยกขยะอันตรายเพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมทีดี ประจำปีงบประมาณ 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนตำบลบูกิตร่วมใจจัดการขยะและแยกขยะอันตรายเพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมทีดี ประจำปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-l2479-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาเกี่ยวกับขยะอันตรายเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบ ต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิตของประชาชนทั่วไป จากสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปีพ.ศ. 2560 พบว่า ของเสียอันตรายหรือ ขยะมลพิษ จากการดำเนินงานตามแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ.2559-2564 ในรอบ 6 เดือนแรกของปี 2560 พบว่า มีขยะมูลฝอยชุมชนเกิดขึ้น 27.39 ล้านตัน จัดการได้แล้ว 7.53 ล้านตัน คิดเป็น 28% ขยะมูลฝอยตกค้าง 30.49 ล้านตัน จัดการได้แล้ว 24.96 ล้านต้น คิดเป็น 82% และของเสียอันตรายชุมชน 606,319 ตัน จัดการได้แล้ว 545 ตันคิดเป็น 0.09% ซึ่งส่วนหนึ่งจะถูกจัดเก็บและทำลายตามข้อกำหนดของกฎหมาย แต่สำหรับของเสียที่เกิดจากกิจกรรมในสำนักงาน หน่วยงาน ราชการ รวมทั้งร้านค้า และบ้านเรือนประชาชนทั่วไปขยะอันตราย เป็นขยะที่มีองค์ประกอบหรือปนเปื้อนวัตถุอันตรายชนิดต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ วัตถุระเบิด วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทำให้เกิดโรค วัตถุกัมมันตรังสี วัตถุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุกัดกร่อน วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง วัตถุอย่างอื่น ถือเป็นขยะอันตรายที่จำเป็นต้องแยกทิ้งต่างหากเนื่องจากคุณสมบัติทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ ได้แก่ ติดไฟง่าย ระเบิดได้ มีสารกัดกร่อน ขยะพิษ เช่น ถ่านไฟฉาย หลอดไฟ กระป๋องยาฆ่าแมลง เครื่องสำอาง น้ำมันเครื่อง ภาชนะน้ำยาทำความสะอาดสุขภัณฑ์ ฯลฯ โลกปัจจุบันของมนุษย์ทุกวันนี้ เป็นโลกแห่งยุคเทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์ของใช้เกือบจะทุกชนิดที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ส่วนใหญ่ล้วนแล้วแต่เป็นสารพิษต่างๆ มากมาย ถ้าจัดการที่ไม่ถูกวิธี ทำให้เกิดผลเสีย มีการปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม และส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ที่สัมผัสด้วยความเป็นห่วงเป็นใยต่อพี่น้องประชาชนในการดำเนินชีวิตและเห็นถึงความสำคัญในการคัดแยกขยะมูลฝอยของเสียอันตรายจากต้นทางที่ครัวเรือน องค์การบริหารส่วนตำบลบูกิต ได้ร่วม กับผู้นำหมู่บ้าน คณะกรรมการทุกหมู่บ้าน เล็งเห็นปัญหา ความสำคัญที่ต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วน จึงได้จัดทำ โครงการชุมชนตำบลบูกิตร่วมใจจัดการขยะและแยกขยะอันตรายเพื่อคุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อมทีดี เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนในพื้นที่ หน่วยงานราชการได้ คัดแยกและจัดการขยะอันตราย อย่างถูกวิธีได้มีส่วนร่วมในดำเนินงานด้านการคัดแยกขยะอันตราย/รวบรวม และนำไปกำจัดอย่างถูกหลักสุขาภิบาล และเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์โครงการและรณรงค์ให้มีการคัดแยกของเสียอันตรายเพื่อนำไปสู่การกำจัดที่ถูกต้อง จึงมีวิธีในการคัดแยกขยะประเภทต่าง ๆ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ
- เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ
- เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะและแยกขยะอันตรายในชุมชน
- สร้างแกนนำและครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะและแยกขยะอันตรายในระดับครัวเรือน
- รณรงค์ก่อนเข้าแถวเคารพธงชาติ และให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะและแยกขยะอันตรายหน้าเสาธง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 80 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนในครัวเรือนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน) 2.หน่วยงาน/องค์กรที่มีนโยบายจัดการขยะที่ถูกต้อง 3.มีแกนนำและครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง 4.ประชาชนในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการคัดแยกของเสีบอันตรายจากชุมชนมากขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน) |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ ตัวชี้วัด : จำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง(ครัวเรือน) |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ ตัวชี้วัด : จำนวนหน่วยงาน/องค์กรที่มีนโยบายจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง) |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 180 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 80 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ (2) เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ (3) เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะและแยกขยะอันตรายในชุมชน (2) สร้างแกนนำและครัวเรือนต้นแบบในการจัดการขยะและแยกขยะอันตรายในระดับครัวเรือน (3) รณรงค์ก่อนเข้าแถวเคารพธงชาติ และให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะและแยกขยะอันตรายหน้าเสาธง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนตำบลบูกิตร่วมใจจัดการขยะและแยกขยะอันตรายเพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมทีดี ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-l2479-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นาย นาซอรี มะเก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......