กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอาสาสมัครสาธารณสุขร่วมใจเฝ้าระวังภัยโควิด 19 ปี 2564 หมู่ที่ 1(บ้านรับแพรก)
รหัสโครงการ 2564-L5221-2-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 1
วันที่อนุมัติ 1 เมษายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 12,050.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางดารา ช่วยเรือง
พี่เลี้ยงโครงการ นายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.785597,100.347955place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2564 30 ก.ย. 2564 12,050.00
รวมงบประมาณ 12,050.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 126 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 134 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 389 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 12 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 261 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 เช่น การล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อน ช้อนส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน ได้ถูกต้อง
70.00
2 ร้อยละของสถานที่ในชุมชน (ตลาด ศาสนสถาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน สนามกีฬา และสถานที่ทำงาน) ที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19
80.00
3 ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
75.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก “Coronavirus disease 2019”เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมื่อปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลัน ปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มลฑลหูเป่ย ประเทศจีน จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวัดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและพบว่าเป็นเชื้อไวรัสโคโรนา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ 7 ที่ถูกค้นพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) และเมอร์ส (MERS) จากข้อมูลกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2564 มีรายงานผู้ป่วยยืนยันทั่วโลก รวม 222 ประเทศ รวมทั้งหมดจำนวน 109,706,777 คน รักษาหายแล้ว 84,252,624 คน เสียชีวิต 2,419,662 คน โดยประเทศที่มีจำนวนผู้ป่วยยืนยัน 10 อันดับแรกได้แก่ สหรัฐอเมริกา 28,317,703 คน, อินเดีย 10,925,710 คน, บราซิล 9,866,710 คนรัสเซีย 4,099,323 คน, สหราชอาณาจักร 4,047,843 คน, ฝรั่งเศส 3,469,539 คน, สเปน 3,086,286 คน, อิตาลี 2,729,223 คน, ตุรกี 2,594,128 คน และเยอรมนี 2,346,876 คนสถานการณ์การแพร่ระบาดในประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำนวน 24,961 คน รักษาหายและแพทย์ให้กลับบ้าน 23,697 คน ผู้ป่วยยืนยันที่เสียชีวิต 82 คน จังหวัดสงขลามีผู้ป่วยยืนยันสะสม 147 คน ระลอกใหม่ 13 คน พบในประเทศ 2 คน เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการที่สำคัญคือ การกักกันผู้ที่กลับมาจากต่างประเทศและพื้นที่เสี่ยงในศูนย์กักกัน(State Quarantine) การเฝ้าระวังผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด คือจังหวัดสมุทรสาคร และพื้นที่ควบคุม 8 จังหวัด(ตาก, กรุงเทพ, นนทบุรี, ปทุมธานี, นครปฐม, ราชบุรี, สมุทรสงคราม และสมุทรปราการ) จำเป็นต้องปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันโควิด 19 อย่างเคร่งครัด "สวมหน้ากาก เว้นระยะห่าง ล้างมือ สแกนไทยชนะ" โดย "ไม่ประมาท การ์ดไม่ตก" สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยทุกครั้งเมื่อออกนอกบ้าน เว้นระยะห่างระหว่างกัน 1 - 2 เมตร หมั่นล้างมือด้วยน้ำและสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์และสแกนแอปพลิเคชัน ไทยชนะทุกครั้ง เพื่อการสอบสวนและติดตามหากจำเป็น ซึ่งตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน พ.ศ. 2554 ข้อ 27(4) จัดกิจกรรมเฝ้าระวังและป้องกันปัญหาสาธารณสุขที่สอดคล้องกับสภาวะสุขภาพของท้องถิ่น
ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 ตำบลท่าบอน จึงจัดทำโครงการอาสาสมัครสาธารณสุขร่วมใจเฝ้าระวังภัยโควิด ปี 2564 ในพื้นที่หมู่ที่ 1 ตำบลท่าบอน เพื่อการป้องกันการติดเชื้อ/ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ในสถานที่ราชการ หมู่บ้าน โรงเรียน และกิจกรรมการคัดกรองของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

ร้อยละของที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

70.00 90.00
2 เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19  ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

75.00 90.00
3 เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น

ร้อยละของสถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19

80.00 90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 12,050.00 0 0.00
1 เม.ย. 64 - 31 ก.ค. 64 ให้ความรู้ประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันโรคโควิด 19 ในหมู่ที่ 1 ทุกหลังคาเรือน 0 0.00 -
3 พ.ค. 64 - 30 มิ.ย. 64 จัดหาเวชภัณฑ์ทางการแพทย์สำหรับการปฏิบัติงานของอสม. และป้องกันตนเองของกลุ่มเปราะบาง 0 4,850.00 -
3 พ.ค. 64 - 30 มิ.ย. 64 จัดหาเครื่องมือทางการแพทย์สำหรับการปฏิบัติงานของอสม. และผู้เข้าร่วมกิจกรรมของหมู่บ้าน 0 7,200.00 -

1.ประชุมอสม. และแกนนำในหมู่บ้าน 2.สำรวจกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มเปราะบางในพื้นที่ 3.เขียนโครงการเสนอของบประมาณจากกองทุนสปสช.อบต.ท่าบอน 4.จัดหาวัสดุ/อุปกรณ์ทางการแพทย์ในการตรวจคัดกรอง/เฝ้าระวังโรคโควิด19 5.เรียนรู้เรื่องการใช้เครื่องตรวจวัดอุณหภูมิอินฟราเรด และวิธีการตรวจคัดกรอง/เฝ้าระวังโรคโควิด19 6.จ่ายหน้ากากอนามัยในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเปราะบาง 7.จัดกิจกรรมตรวจคัดกรอง/เฝ้าระวังโรคโควิด19 ในตลาด
8.เตรียมชุดในการตรวจคัดกรอง/เฝ้าระวังโรคโควิด19 ในพื้นที่ 9.ติดตามเยี่ยมผู้ที่เดินทางกลับมาจากพื้นที่เสี่ยง และผู้ที่ได้รับการฉีดวัคซีน 10.สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในหมูู่ที่ 1 ตำบลท่าบอนมีความรู้และปฏิบัติตนได้ถูกต้องในการป้องกันโรคโควิด 19 2.อสม. หมู่ที่ 1 มีการคัดกรองเฝ้าระวังผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง และการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ในหมู่บ้าน 3.ประชาชนในหมูู่ที่ 1 ตำบลท่าบอน ไม่ป่วยด้วยโรคโควิด 19

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ก.พ. 2564 14:38 น.