กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการน้ำตาลลด ความดันดี ชีวีมีสุข 2564
รหัสโครงการ 64-L8408-1-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระ
วันที่อนุมัติ 14 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ - 31 สิงหาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 15 กันยายน 2564
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอิดดาเร๊ะ มาราสา
พี่เลี้ยงโครงการ นายสมนึก อาดตันตรา
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.855,99.927place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มี.ค. 2564 31 ส.ค. 2564 20,000.00
รวมงบประมาณ 20,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 40 ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันสามารถควบคุมระดับความดันได้ดี ตัวชีวัดความสำเร็จ ร้อยละ 50 ผู้ป่วยโรคความดันสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดี 3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานมารับบริการอย่างต่อเนื่องที่คลินิกโรคเรื้อรัง ตัวชีวัดความสำเร็จ อัตราผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียน และมารับบริการในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ร้อยละ 90 4. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตมารับบริการอย่างต่อเนื่องที่คลินิกโรคเรื้อรัง ตัวชีวัดความสำเร็จ อัตราผู้ป่วยโรคความดันที่ขึ้นทะเบียนและมารับบริการในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ร้อยละ 90
  1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง สามารถควบคุมโรคให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ ลดการเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน           2. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการดูแลสุขภาพ และส่งต่อเพื่อรักษาอย่างถูกต้อง           3. ญาติผู้ป่วย มีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ก.พ. 2564 15:13 น.