กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันภัยพิบัติตำบล ปุโละปุโย
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองทุนสุขภาพตำบลปุโละปุโย
วันที่อนุมัติ 22 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 22 มีนาคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 10,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1000 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่ได้รับผลกระทบต่อสถานการณ์การระบาดของโรคฉี่หนู
20.00
2 ร้อยละเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด
20.00
3 ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฉี่หนู
20.00
4 ร้อยละของเด็กเล็กที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมือเท้าปาก
30.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตของประชาชนในชุมชนหรือท้องถิ่นและตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.๒๕๕๗ ข้อ ๗ (๕) กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุน เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานมีความสอดคล้องตามประกาศคณะกรรมการฯ
ทางกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปุโละปุโย ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและเฝ้าระวังโรคระบาดหรือภัยพิบัติ ตำบลปุโละปุโย เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือกับโรคระบาดหรือ ภัยพิบัติในพื้นที่ ก็จะสมารถช่วยลดความรุนแรง ความสูญเสีย จากโรคระบาดหรือภัยพิบัติได้ทันท่วงที โดยการจัดกิจกรรมการอบรมให้ความรู้การป้องกันโรคอุบัติใหม่ เช่น(โรคฉี่หนู,โรคมือ เท้า ปาก) และรณรงค์ให้ประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลปุโละปุโย ได้ทราบถึงวีการป้องกันโรคเพื่อเป็นภูมิคุ้มกันให้กับตนเองและบุคคลในครอบครัวและการดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างปลอดภัยจากโรคต่างๆที่เกิดขึ้นได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด

การแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(ร้อยละ)

20.00 30.00
2 เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนู และ โรคมือ เท้า ปาก) ให้กับประชาชนและผู้ปกครองในพื้นที่ของตำบลปุโละปุโย

ประชาชนมีความรู้ในการดูแลเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนู และโรคมือ เท้า ปาก) เพิ่มขึ้นร้อยละ 70

20.00 20.00
3 เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนู และโรคมือ เท้า ปาก)

ประชาชนสามารถป้องกันโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนู และโรคมือ เท้า ปาก)

20.00 20.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 10,800.00 0 0.00
22 มี.ค. 64 - 31 ส.ค. 64 รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชนในพื้นที่อบต.ปุโละปุโย ในการป้องกันโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนูและโรคมือ เท้า ปาก) 0 10,800.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองจากโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนู และโรคมือ เท้า ปาก)
  2. ประชาชนมีความตระหนักการป้องกันโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนู และโรคมือ เท้า ปาก)
  3. ประชาชนสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนู และโรคมือ เท้า ปาก)
  4. สามารถลดการแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ (โรคฉี่หนู และโรคมือ เท้า ปาก)
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ก.พ. 2564 15:29 น.