โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและส่งเสริมกิจกรรมศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลบูกิต
ชื่อโครงการ | โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและส่งเสริมกิจกรรมศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลบูกิต |
รหัสโครงการ | 64-L2479-3-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลบูกิต |
วันที่อนุมัติ | 23 มีนาคม 2564 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กรกฎาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2564 |
งบประมาณ | 69,120.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายอับดุลกอเดร์ มูฮำมะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 180 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ประเทศไทยกำลังจะก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุการเปลี่ยนแปลงและเตรียมพร้อมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีและใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขเป็นเรื่องสำคัญการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศไทยทำให้ประชากรในวัยผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคมมีผลให้ลักษณะครอบครัวไทยเปลี่ยนจากครอบครัวขยายไปสู่ครอบครัวเดี่ยวความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวลดลงจำนวนผู้ที่จะทำหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวลดลงมีเวลาให้ผู้สูงอายุลดลง ขาดการให้ความรักและความอบอุ่นผู้สูงอายุจึงถูกทอดทิ้งให้อยู่โดยเดี่ยวและดำเนินชีวิตเพียงลำพัง ด้วยสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมปัจจุบันทั้งในด้านความคิดความเข้าใจและค่านิยมต่างๆซึ่งก่อให้ผู้สูงอายุเกิดความน้อยใจความเครียดความคับข้องใจแยกตัวออกจากสังคมขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัวท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิตประกอบกับวัยสูงอายุเป็นวัยที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ภาวะสุขภาพเสื่อมลงมีโรคทางกายเพิ่มมากขึ้นมีสารชีวเคมีและฮอร์โมนลดลงการสูญเสียสิ่งสำคัญของชีวิตเช่นการสูญเสียคุ่ชีวิตเพราะตายจากการสูญเสียบุครเพราะแยกไปมีครอบครัวการสุญเสียตำแหน่งหน้าที่การงานการสูญเสียสถานภาพหรือบทบาททางสังคมตลอดจนการสูญเสียการเป็นที่พึ่งของครอบครัวสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของผู้สูงอายุหากผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้วจะยิ่งทำให้ผู้สูงอายุว้าเหว่มีภาวะซืมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงจนเกิดความรู้สึกสิ้นหวังแยกตัวออกจากสังคมเป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลบูกิตมีข้อมูลผู้สูงอายุจำนวน1,755คนการส่งเสริมกิจกรรมของผู้สูงอายุด้านสุขภาพกายและจิตใจเป็นตัวชี้วัดการดำเนินกิจกรรมของศูนย์จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและส่งเสริมกิจกรรมศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
1 ก.ค. 64 - 24 ก.ย. 64 | จัดประชุมคณะกรรมการของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลบูกิตเพื่อกำหนดแผนงานโครงการ | 0 | 0.00 | ✔ | 0.00 | |
1 ก.ค. 64 - 24 ก.ย. 64 | กิจกรรมให้ความรู้ | 0 | 43,920.00 | ✔ | 43,920.00 | |
1 ก.ค. 64 - 24 ก.ย. 64 | กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพกายและจิตใจ | 0 | 22,200.00 | ✔ | 22,200.00 | |
1 ก.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 | กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน | 0 | 0.00 | ✔ | 0.00 | |
1 ก.ค. 64 - 24 ก.ย. 64 | กิจกรรมผ่อนคลายความเครียด | 0 | 3,000.00 | ✔ | 3,000.00 | |
รวม | 0 | 69,120.00 | 5 | 69,120.00 |
1.ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ทั้งร่างกายและจิตใจไม่เป็นภาระของผู้อื่น 2.ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการพัฒนาจิตใจลดภาวะซึมเศร้า 3.ผู้สูงอายุทีเ่ข้าร่วมกิจกรรมมีความเข้าใจในการใช้ชีวิตตามแนวชีวิตวิถีใหม่ได้ (New Normal) 4.ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความเพลิดเพลินจากการทำกิจกรรมร่วมกันอย่างมีความสุข
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ก.พ. 2564 10:42 น.