กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริการคลีนิกเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2560
รหัสโครงการ 60-L8008-1-11
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์สุขภาพชุมชนพิมานรพ.สตูล
วันที่อนุมัติ 6 กรกฎาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 67,680.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอัญชนาคุณลักษณ์ธำรงพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากปัญหาโรคติดต่อเร้ือรังเช่นโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานโรคหัวใจและหลอดเลือดโรคมะเร็งรวมทั้งปัญหาสุขภาพจิตเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในปัจจุบันโดยเฉพาะอย่างย่ิงสาเหตุการตายอันดับต้นและมีแนวโน้มการเกิดโรคเพิ่มขึ้นทุกปีซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของประชาชนผู้ป่วยเหล่านี้เป็นผู้ป่วยเร้ือรังหากได้รับการดูแลตนเองที่ดีและการดูแลจากครอบครัวการดูแลสุขภาพที่บ้านเพื่อส่งเสริมรักษาความสมดุลของร่างกายและช่วยฟื้นฟูสภาพร่างกายทั้งนี้การบริการดังกล่าวต้องสอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการและความร่วมมือจัดการร่วมกันระหว่างทีมสุขภาพและครอบครัว ดังนั้นเพื่อเป็นการตอบสนองความต้องการของประชาชนในการเข้าถึงระบบบริการใกล้บ้านใกล้ใจศูนย์สุขภาพชุมชนพิมานจึงมีแนวความคิดว่าการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังให้มีประสิทธิภาพจะอาศัยเจ้าหน้าที่และผู้ป่วยอย่างเดียวไม่เพียงพอจะต้องมีทีมสุขภาพซึ่งประกอบไปด้วยผู้ป่วยครอบครัวอสม.ชุมชนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และบุคลากรสาธารณสุขเข้ามาดูแลอย่างจริงจังและต่อเนื่องเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ป่วยและยังเป็นการส่งเสริมป้องกันให้ประชาชนทั่วไปในชุมชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาสมสอดคล้องกับวิถีชีวิตเพื่อช่วยลดค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ป่วย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อพัฒนาระบบบริการคลีนิกโรคเรื้อรังให้ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ รวมถึงชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรสาธารณสุขผู้รับบริการและชุมชน 2. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่รับการรักษาในคลีนิก 3. เพื่อให้ผู้ป่วยผู้ดูแล และครอบครัว มีความรู้และทักษะ ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง 4. เพื่อสร้างความพึงพอในการให้บริการในคลีนิกและพัฒนาระบบบริการให้เป็นมาตรฐานเดียวกับ รพ.แม่ข่าย
  1. เพื่อพัฒนาระบบบริการคลีนิกโรคเรื้อรังให้ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ รวมถึงชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรสาธารณสุขผู้รับบริการและชุมชน ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่รับการรักษาในคลีนิก ให้ผู้ป่วยผู้ดูแล และครอบครัว มีความรู้และทักษะ ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องสร้างความพึงพอในการให้บริการในคลีนิกและพัฒนาระบบบริการให้เป็นมาตรฐานเดียวกับ รพ.แม่ข่าย
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 เม.ย. 60 - 30 ก.ค. 60 (1) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้ป่วย) 50 15,000.00 -
1 เม.ย. 60 - 30 ก.ย. 60 ค่าอาหารกลางวัน /อาหารว่างและเครื่องดื่ม (จิตอาสา) 3 6,480.00 -
1 เม.ย. 60 - 30 ก.ย. 60 ค่าตอบแทนวิทยากร 2 7,200.00 -
1 เม.ย. 60 - 30 ก.ย. 60 ค่าอาหารกลางวัน 100 14,000.00 -
1 เม.ย. 60 - 30 ก.ย. 60 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 100 10,000.00 -
1 เม.ย. 60 - 30 ก.ย. 60 ค่าเอกสาร/วัสดุต่าง ๆ/จัดบู๊ทความรู้ต่าง ๆ 0 5,000.00 -
1 เม.ย. 60 - 30 ก.ย. 60 ค่าเต็นท์/เครื่องเสียง 0 5,000.00 -
1 เม.ย. 60 - 30 ก.ย. 60 โปสเตอร์/แผ่นพับ/สติ๊กเกอร์ปิงปองจราจร 7 สี 0 5,000.00 -
รวม 255 67,680.00 0 0.00

1.1 ขั้นเตรียมการ
-เขียนโครงการ/ขออนุมัติ -ประชุมคณะทำงานทีมสหวิชาชีพและเจ้าหน้าที่จัดทำแผนปฏิบัติการ 1.2ขั้นดำเนินการ 1.3ขั้นประเมินผล -ประเมินผลจากผู้ป่วย -ประเมินจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยผู้ดูแลมีความตระหนักในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเองอสม.จิตอาสาในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนตลอดจนการดูแลต่อเนื่องสามารถเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนสร้างความตระหนักให้เกิดการแก้ไขปัญหาด้วยตนเองการดูแลตนเองครอบครัวและชุมชนและยังเป็นการส่เสริมป้องกันให้ประชาชนทั่วไปในชุมชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมสอดคล้องกับวิถีชีวิตตลอดจนชุมชนมีศักยภาพที่เข้มแข็งเหมาะสมกับบริบทของชุมชน รวมทั้งได้รับสนับสนุนจากหน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ และเกิดเครือข่ายสุขภาพที่ยั่งยืน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ก.ค. 2560 13:34 น.