กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพข้อเข่าด้วยธาราบำบัด ประจำปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลปากช่อง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพข้อเข่าด้วยธาราบำบัด ประจำปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลปากช่อง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา จังหวัด นครราชสีมา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพข้อเข่าด้วยธาราบำบัด ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัดนครราชสีมา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากช่อง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพข้อเข่าด้วยธาราบำบัด ประจำปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพข้อเข่าด้วยธาราบำบัด ประจำปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากช่อง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 195,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปากช่อง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคข้อเสื่อม เป็นโรคที่พบบ่อยที่สุดในคนสูงอายุทุกเชื้อชาติ พบได้ร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุอายุ 60 ปีขึ้นไป ข้อมูลล่าสุดในปี 2553 พบคนไทยป่วยโรคข้อเสื่อมกว่า 6 ล้านคน มากที่สุดคือข้อเข่า เนื่องจากเป็นอวัยวะที่แบกรับน้ำหนักตัวโดยตรงซึ่งทำหน้าที่เคลื่อนไหวเกือบตลอดเวลา พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย 2-3 เท่าตัว คาดว่าผู้ป่วยโรคนี้จะเพิ่มขึ้นมากจากปัญหาโรคอ้วน ผลการวิจัยทั่วโลก ยืนยันตรงกันพบมีความเสี่ยงต่อการเกิดข้อเข่าเสื่อมถึง 1.4 เท่าตัว โดยผู้หญิงเสี่ยง 4.37 เท่าตัว และผู้ชายเสี่ยง 2.7 เท่าตัว ซึ่งขณะนี้ผลสำรวจทั่วประเทศไทยมีคนอ้วนประมาณ 16 ล้านคน โดยมากเป็นอันดับ 2 ในอาเซียน ซึ่งปัจจุบันในเขตเทศบาลเมืองปากช่องก็พบผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมจำนวนมาก หากไม่เร่งควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คาดว่าในอนาคตจะพบผู้เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมตั้งแต่วัยหนุ่มสาว โดยได้มีการศึกษาวิจัยรูปแบบการฟื้นสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับผู้ที่มีปัญหาข้อเสื่อมและมีน้ำหนักตัวมากเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีต้นแบบจัดบริการฟื้นฟูที่เหมาะสมในการบำบัดอาการปวด ลดน้ำหนักตัว ชะลอความเสื่อมข้อเข่า เพื่อรองรับการจัดบริการ ในสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย ซึ่งขณะนี้มีผู้สูงอายุถึง 10 ล้านคน ซึ่งพบว่าธาราบำบัด หรือ Hydrotherapy เป็นเทคนิคการรักษา ที่อาศัยคุณสมบัติของน้ำที่มีทั้งแรงลอยตัวและแรงดันน้ำ มาเป็นตัวช่วยในการออกกำลังกายให้หลากหลายคือการใช้คุณสมบัติของน้ำ ช่วยพยุงรับทุกส่วนของร่างกาย ทำให้เคลื่อนไหวได้ง่ายขึ้น ลดแรงกระแทก และบรรเทาความเจ็บปวด ฉะนั้นธาราบำบัดจึงสามารถฟื้นฟูได้ทั้งร่างกายและจิตใจผู้ป่วย โดยผู้ป่วยกลุ่มหลักๆ ที่สามารถใช้ธาราบำบัดเยียวยาได้ ได้แก่ผู้ที่มีปัญหากล้ามเนื้ออ่อนแรง ผู้ที่มีปัญหากระดูกหัก ผู้ป่วยโรคอ้วน ผู้ป่วยโรคข้อ บุคคลทั่วไปที่มีความเครียด และเหล่านี้ คือประโยชน์โดยตรงของธาราบำบัดต่อสุขภาพข้อต่อ ในฐานะที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม มีบทบาทหน้าที่ในการดูแลภาวะสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพข้อเข่าด้วยธาราบำบัด ประจำปีงบประมาณ 2564 ขึ้น เพื่อเพื่อผ่อนคลาย ลดอาการ ลดปัญหา ลดความเจ็บปวด เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ เพิ่มความทนทานของกล้ามเนื้อ ลดปัญหาข้อยึดติดและ ความเสียสมดุลทรงตัว รวมทั้งเพื่อส่งเสริมสุขภาพของร่างกาย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลภาวะสุขภาพข้อเข่าของประชาชน
  2. เพื่อชะลอความเสื่อมของข้อเข่า ลดอาการปวด และเพิ่มประสิทธิภาพในการทรงตัว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม Work shop ครั้งที่ 1 จำนวน 2 วัน
  2. กิจกรรมการฝึกปฏิบัติต่อเนื่องสัปดาห์ละ 1 ครั้ง จำนวน 8 สัปดาห์
  3. กิจกรรม Work shop ครั้งที่ 2 จำนวน 1 วัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 ประชาชนได้รับการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลภาวะสุขภาพข้อเข่าในระดับดี
ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 7.2 มีการใช้น้ำเป็นสื่อรักษาในลักษณะการฝึกออกกำลังกายในน้ำและการรักษาด้วยคุณสมบัติของน้ำ 7.3 สามารถชะลอความเสื่อมของข้อเข่า ลดอาการปวด และเพิ่มประสิทธิภาพในการทรงตัว 7.4 ประชาชนได้รับส่งเสริมสุขภาพผ่อนคลายความเครียด 7.5 ผลการประเมินความปวดข้อเข่าใช้น้ำเป็นสื่อในการรักษา โดยใช้ pain score อยู่ในระดับที่ดีขึ้น จากเดิม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลภาวะสุขภาพข้อเข่าของประชาชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลภาวะสุขภาพข้อเข่า
80.00

 

2 เพื่อชะลอความเสื่อมของข้อเข่า ลดอาการปวด และเพิ่มประสิทธิภาพในการทรงตัว
ตัวชี้วัด : ร้อยละ pain score อาการป่วยข้อเข่าอยู่ในระดับที่ดีขึ้น
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลภาวะสุขภาพข้อเข่าของประชาชน (2) เพื่อชะลอความเสื่อมของข้อเข่า ลดอาการปวด และเพิ่มประสิทธิภาพในการทรงตัว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม Work shop ครั้งที่ 1 จำนวน 2 วัน (2) กิจกรรมการฝึกปฏิบัติต่อเนื่องสัปดาห์ละ 1 ครั้ง จำนวน 8 สัปดาห์ (3) กิจกรรม Work shop ครั้งที่ 2 จำนวน 1 วัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพข้อเข่าด้วยธาราบำบัด ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัด นครราชสีมา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด