กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการส่งเสริมชุมชน หมู่ที่ 7 ป้องกันและเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชน ตามมติที่ประชุมกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนิคมพัฒนา ครั้งที่ 3/2560 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2560

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา


“ โครงการส่งเสริมชุมชน หมู่ที่ 7 ป้องกันและเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชน ตามมติที่ประชุมกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนิคมพัฒนา ครั้งที่ 3/2560 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2560 ”

อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
คณะกรรมการพัฒนางานสาธารณสุขมูลฐาน หมู่ที่ 7

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมชุมชน หมู่ที่ 7 ป้องกันและเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชน ตามมติที่ประชุมกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนิคมพัฒนา ครั้งที่ 3/2560 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2560

ที่อยู่ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5296-2-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมชุมชน หมู่ที่ 7 ป้องกันและเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชน ตามมติที่ประชุมกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนิคมพัฒนา ครั้งที่ 3/2560 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมชุมชน หมู่ที่ 7 ป้องกันและเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชน ตามมติที่ประชุมกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนิคมพัฒนา ครั้งที่ 3/2560 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมชุมชน หมู่ที่ 7 ป้องกันและเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชน ตามมติที่ประชุมกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนิคมพัฒนา ครั้งที่ 3/2560 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5296-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,408.82 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน ประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขเป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม การมีสุขภาพจิตที่ดี ดังนั้น เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในหมู่ที่ 7 โดยเฉพาะกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ รวมทั้งสามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชน เพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง คณะกรรมการพัฒนางานสาธารณสุขมูลฐาน หมู่ที่ 7 ร่วมกับสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลนิคมพัฒนา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน หมู่ทีี่ 7 ป้องกันและเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชนขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชน หมู่ที่ 7 ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในชุมชน หมู่ที่ 7 มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างเหมาะสม ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพือลดความเสี่ยงจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 3. เพื่อส่งต่อประชาชนในชุมชนที่ตรวจพบความผิดปกติเนื่องจากโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชน หมู่ที่7 ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
    2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในชุมชน หมู่ที่ 7 มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างเหมาะสม ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    3. ประชาชนในชุมชนที่ตรวจพบความผิดปกติเนื่องจากโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจรักษาได้อย่างทันท่วงที

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผลการดำเนินงาน กิจกรรมอบรมให้ความรู้โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน - ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำนวน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 วันที่ 14 กันยายน 2560 ณ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ นิคมพัฒนา และครั้งที่ 2 วันที่ 15 กันยายน 2560 ณ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ นิคมพัฒนา มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทั้งสิ้น 107 ราย จากการที่ได้จัดกิจกรรมทำให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยได้ประสานขอความอนุเคราะห์วิทยากรจากสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ นิคมพัฒนา
    กิจกรรมตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน - คณะกรรมการพัฒนางานสาธารณสุขมูลฐาน หมู่ที่ 7 ได้จัดกิจกรรมตรวตคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำนวน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 วันที่ 14 กันยายน 2560 ณ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ นิคมพัฒนา และครั้งที่ 2 วันที่ 15 กันยายน 2560 ณ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ นิคมพัฒนา มีผู้เข้ารับการตรวจคัดกรอง ทั้งสิ้น 107 ราย สามารถคัดแยกกลุ่มเสี่ยงที่เข้ารับการตรวจคัดกรอง แบ่งออกเป็น 7 กลุ่ม ดังนี้ 1. กลุ่มปกติ (ปิงปองสีขาว เน้นกิจกรรม 3อ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ ลด/เลิกบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอร์) มีจำนวน 43 คน 2. กลุ่มเสี่ยง (ปิงปองสีเขียวอ่อน เน้นกิจกรรม 3อ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ ลด/เลิกบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอร์ วัดความดันโลหิตทุกเดือน ตรวจวัดเบาหวานทุก 1-3 เดือน) มีจำนวน 46 คน 3. กลุ่มป่วยระดับ 0 (ปิงปองสีเขียว ปฏิบัติตัวเช่นเดียวกับกลุ่มปิงปองสีขาว รับประทานยาต่อเนื่อง ลดบริโภค น้ำตาลและอาหารมัน เค็ม) มีจำนวน 2 คน 4. กลุ่มป่วยระดับ 1 (ปิงปองสีเหลือง ปฏิบัติเช่นเดียวกับปิงปองสีเขียว ป้องกันภาวะแทรกซ้อน เช่น ตรวจตา เท้า ปัสสาวะ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ) มีจำนวน 13 คน 5. กลุ่มป่วยระดับ 2 (ปิงปองสีส้ม ปฏิบัติเช่นเดียวกับปิงปองสีเขียว สีเหลือง พบแพทย์ตามนัด หรือเมื่อมีอาการผิดปกติ ได้รับการเยี่ยมบ้าน) มีจำนวน 2 คน 6. กลุ่มป่วยระดับ 3 (ปิงปองสีแดง ปฏิบัติตัวเช่นเดียวกับปิงปองสีเขียว สีเหลือง สีส้ม) มีจำนวน 1 คน 7. กลุ่มป่วยมีโรคแทรกซ้อน (ปิงปองสีดำ เมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนต้องส่งโรงพยาบาลเพื่อลดความรุนแรงและโอกาสการเสียชีวิต) จากการตรวจคัดกรองในครั้งนี้ไม่พบผู้ป่วยที่จัดอยู่ในกลุ่มนี้     โดยได้รวบรวมข้อมูลและส่งต่อไปดำเนินการรักษาตัวที่โรงพยาบาลแล้ว จำนวน 3 ราย บางรายขอไปดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตัวเองดูก่อนแล้วมาตรวจซ้ำที่สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ นิคมพัฒนา     โดยมีรายละเอียดค่าใช้จ่ายในการดำเนินกิจกรรม ดังนี้             - ค่าอาหารสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 1 มื้อๆ ละ 60 บาท  เป็นเงิน 6,000 บาท             - ค่าเครื่องตรวจวัดน้ำตาลในเลือด จำนวน 1 เครื่องๆ ละ 2,700 บาท เป็นเงิน 2,700 บาท             - ค่าแถบตรวจน้ำตาลในเลือด จำนวน 4 กล่องๆ ละ 450 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท             - ค่าเข็มเจาะตรวจวัดน้ำตาลในเลือด จำนวน 4 กล่องๆ ละ 125 บาท เป็นเงิน 500 บาท             - ค่าเครื่องวัดความดันโลหิต จำนวน 1 เครื่องๆ ละ 2,300 บาท เป็นเงิน 2,300 บาท             - ค่าเครื่องชั่งน้ำหนัก จำนวน 1 เครื่องๆ ละ 800 บาท เป็นเงิน 800 บาท             - ค่าแอลกอฮอล์ (ขนาด 450 มล.) จำนวน 1 ขวดๆ ละ 27.82 บาท เป็นเงิน 27.82 บาท
                - ค่าหน้ากากอนามัย จำนวน 1 กล่องๆ ละ 46 บาท  เป็นเงิน 46 บาท             - ค่าถุงมืออนามัย (เบอร์ M) จำนวน 1 กล่องๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 100 บาท             - ค่าสำลีแบบก้อน จำนวน 3 ถุงๆ ละ 45 บาท เป็นเงิน 135 บาท                 รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 14,408.82 บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชน หมู่ที่ 7 ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในชุมชน หมู่ที่ 7 มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างเหมาะสม ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพือลดความเสี่ยงจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 3. เพื่อส่งต่อประชาชนในชุมชนที่ตรวจพบความผิดปกติเนื่องจากโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชน หมู่ที่ 7 ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในชุมชน หมู่ที่ 7 มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างเหมาะสม ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพือลดความเสี่ยงจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 3. เพื่อส่งต่อประชาชนในชุมชนที่ตรวจพบความผิดปกติเนื่องจากโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมชุมชน หมู่ที่ 7 ป้องกันและเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในชุมชน ตามมติที่ประชุมกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนิคมพัฒนา ครั้งที่ 3/2560 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2560 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5296-2-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( คณะกรรมการพัฒนางานสาธารณสุขมูลฐาน หมู่ที่ 7 )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด