กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ย่านซื่อ


“ โครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.)ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ อาชีพกลุ่มเลี้ยงโค บ้านห้วยคล้า ”

ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอับดลฆอนี รูบามา นายรอหิม หลงสมัน นส.นูรีดา โต๊ะเจ๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.)ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ อาชีพกลุ่มเลี้ยงโค บ้านห้วยคล้า

ที่อยู่ ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L8407-64-02-17 เลขที่ข้อตกลง 17/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2564 ถึง 30 กรกฎาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.)ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ อาชีพกลุ่มเลี้ยงโค บ้านห้วยคล้า จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ย่านซื่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.)ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ อาชีพกลุ่มเลี้ยงโค บ้านห้วยคล้า



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.)ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ อาชีพกลุ่มเลี้ยงโค บ้านห้วยคล้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L8407-64-02-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2564 - 30 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ย่านซื่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคที่เกิดจากการทำงาน หรือโรคจากการประกอบอาชีพ เป็นปัญหาสำคัญที่มีผลต่อภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทั้งส่วนบุคคล ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติเมื่อเกิดกับบุคคลที่อยู่ในวัยทำงานและมีบทบาทความรับผิดชอบสำคัญของครอบครัวย่อมส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อครอบครัวและสังคม ทั้งในทางเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดกับผู้ประกอบอาชีพอิสระนอกระบบหรือแรงงานนอกระบบ เช่น เกษตรกร ประมง ร้านอาหาร/ขนม ซ่อมรถ ซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า ก่อสร้าง เป็นต้น เพราะผู้ที่ประกอบอาชีพเหล่านี้เป็นเจ้าของกิจการเองไม่ได้รับค่าจ้างจากผู้อื่นในลักษณะของเงินเดือนหรือค่าแรงประจำ และรับผิดชอบต่อการดำเนินการทั้งในส่วนของกำไร หรือขาดทุน หากเกิดการเจ็บป่วยหรือประสบเหตุอันตรายไม่สามารถทำงานได้ ย่อมขาดรายได้ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในครัวเรือนและคุณภาพชีวิตของสมาชิกในครอบครัว ดังนั้นการส่งเสริมค่านิยมที่ถูกต้องด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้กับผู้ประกอบอาชีพแรงงานนอกระบบ จึงเป็นเรื่องสำคัญ
ในพื้นที่บ้านห้วยคล้า ม.๔ ตำบลย่านซื่อ มีแรงงานนอกระบบ ประกอบด้วย เกษตรกรชาวสวนยางพารา เกษตรกรปลูกผัก เลี้ยงโค ประมง เป็นต้น โดยกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโค ถือเป็นกลุ่มแรงงานนอกระบบส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ เกิดอุบัติเหตุจากการเลี้ยงโคบ่อยครั้ง ในพื้นที่บ้านห้วยคล้า ม.๔ตำบลย่านซื่อ และยังประกอบอาชีพกรีดยางพาราด้วย กลุ่ม อสม.บ้านห้วยคล้า ม.๔ ตำบลย่านซื่อ ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจในครัวเรือนของแรงงานนอกระบบ จึงได้จัดโครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.) ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ อาชีพเกษตรกรกลุ่มผู้เลี้ยงโค หมู่ที่ ๔ บ้านห้วยคล้า ตำบลย่านซื่อ เพื่อสำรวจประเมินความเสี่ยงด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานและจัดทำข้อมูลสถานการณ์และความเสี่ยงด้านสุขภาพของกลุ่มแรงงานนอกระบบเพื่อนำฐานข้อมูลจำนวนแรงงานนอกระบบในพื้นที่ มาแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพให้แรงงานนอกระบบ โดยการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคจากการทำงาน สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและลดความเสี่ยงจากการทำงานให้กับกลุ่มอาชีพแรงงานนอกระบบอาชีพเกษตรกรผู้เลี้ยงโค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดทำข้อมูลสถานการณ์และความเสี่ยงด้านสุขภาพของกลุ่มแรงงานนอกระบบ
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนมาตราการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน
  4. เพื่อลดภาวะเครียดวิตกกังวลในผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.)ฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

แรงงานนอกระบบ กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคได้รับการสำรวจประเมินความเสี่ยงด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานและมีการจัดทำข้อมูลสถานการณ์และความเสี่ยงด้านสุขภาพของกลุ่มแรงงานนอกระบบเพื่อนำฐานข้อมูลจำนวนแรงงานนอกระบบในพื้นที่ตำบลย่านซื่อ เพื่อใช้ในการวางแผนแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพให้แรงงานนอกระบบต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดทำข้อมูลสถานการณ์และความเสี่ยงด้านสุขภาพของกลุ่มแรงงานนอกระบบ
ตัวชี้วัด : มีระบบฐานข้อมูลจำนวนแรงงานนอกระบบในพื้นที่ ตำบลย่านซื่อ
2.00 25.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่
ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ เพิ่มขึ้น(คน)
2.00 20.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนมาตราการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนมาตราการในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน เพิ่มขึ้น
3.00 5.00

 

4 เพื่อลดภาวะเครียดวิตกกังวลในผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ประกอบอาชีพเสี่ยงที่มีภาวะเครียด วิตกกังวล
5.00 3.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดทำข้อมูลสถานการณ์และความเสี่ยงด้านสุขภาพของกลุ่มแรงงานนอกระบบ (2) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ (3) เพื่อเพิ่มจำนวนมาตราการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน (4) เพื่อลดภาวะเครียดวิตกกังวลในผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.)ฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครอาชีวอนามัย (อสอช.)ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ อาชีพกลุ่มเลี้ยงโค บ้านห้วยคล้า จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L8407-64-02-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดลฆอนี รูบามา นายรอหิม หลงสมัน นส.นูรีดา โต๊ะเจ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด