กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการน้ำหมักชีวภาพจากวัสดุเหลือใช้ เพื่อดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวสูไวบ๊ะ บือราเฮง




ชื่อโครงการ โครงการน้ำหมักชีวภาพจากวัสดุเหลือใช้ เพื่อดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-ศ4141-01-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 กันยายน 2560 ถึง 7 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการน้ำหมักชีวภาพจากวัสดุเหลือใช้ เพื่อดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการน้ำหมักชีวภาพจากวัสดุเหลือใช้ เพื่อดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการน้ำหมักชีวภาพจากวัสดุเหลือใช้ เพื่อดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-ศ4141-01-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 กันยายน 2560 - 7 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเป็นที่ทราบกันดีกว่า ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ที่เกิดจากสารเคมีปนเปื้อนในสภาวะแวดล้อม และแหล่งน้ำ ส่งผลต่อความปลอดภัยด้านสุขภาพ หากได้รับสารเคมีเข้าไปในร่างกายในปริมาณมากๆ จะเห็นได้จากประชาชนในระดับครัวเรือน หรือเกษตรได้เริ่มมาให้ความสำคัญกับการดำรงชีวิตที่เป็นที่มิตรกับสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะอย่างยิ่งการน้ำหมักชีวภาพกำลังเป็นที่สนใจของประชาชน ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการทำในระดับครัวเรือนและชุมชนที่สนใจ แต่ยังไม่แพร่หลาย เนื่องจากประชาชนยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ขาดข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ในเรื่องกระบวนการผลิต การบรรจุ การเก็บรักษาและการตรวจคุณภาพ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในการทำน้ำหมักชีวภาพ

ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ จึงมีแนวคิดที่จะนำวัสดุที่เหลือใช้จากเศษอาหาร เปลือกผลไม้ เช่น เปลือกส้ม เปลือกสับปะรด แตงโมและเศษผักต่างๆ นำมาผลิตเป็นน้ำหมักชีวภาพ อีกทั้งเพื่อเป็นการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทิ้งขยะมูลฝอย แก้ไขปัญหาขยะอินทรีย์ที่ส่งกลิ่นเหม็น เรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี การเอาจุลินทรีย์ EM มาช่วยในการเร่งปฏิกิริยาย่อยสลายผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่เหลือใช้เป็นน้ำจุลินทรีย์ หรือน้ำหมักชีวภาพ เพื่อไปทำการล้างท่อลดปัญหาการส่งกลิ่นเหม็นทดแทนการใช้สารเคมี ลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ประกอบกับนโยบายระดับชาติที่มุ่งเน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วม และลดปัญหาขยะในครัวเรือน ให้ผู้ประกอบการร้านค้าในพื้นที่ใส่ใจผู้บริโภคมากขึ้น จึงหันมาใช้สิ่งต่างๆ ในธรรมชาติที่อยู่ใกล้ตัวมาทดลอง และประยุกต์ใช้ประโยชน์มากขึ้นจึงได้จัดทำโครงการน้ำหมักชีวภาพจากวัสดุเหลือใช้ เพื่อดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อลดปริมาณขยะอินทรีย์
  2. 2. เพื่อนำวัสดุเหลือใช้จากครัวเรือนมาทำน้ำหมักชีวภาพ
  3. 3.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลลำใหม่ มีความรู้ความเข้าใจในการทำน้ำหมักชีวภาพ
  4. 4 เพื่อลดปัญหามลพิษทาง และรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ปริมาณขยะในครัวเรือนมาทำน้ำหมักชีวภาพ
    2. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการทำน้ำหมักชีวภาพ
    3. ลดปัญหามลพิษทาง และรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. มีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับทำน้ำหมักชีวภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบล ลำใหม่ทั้ง 7 หมู่ๆ ละ 10 คน รวมทั้งหมด 70 คน ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ อ.เมือง จังหวัดยะลา ในวันที่ 7 กันยายน 2560

    วันที่ 20 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับทำน้ำหมักชีวภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบล ลำใหม่ทั้ง 7 หมู่ๆ ละ  10 คน รวมทั้งหมด 70 คน ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ อ.เมือง จังหวัดยะลา ในวันที่ 7 กันยายน  2560
    2. ประชาชนกลุ่มเป้ามีความรู้สามารถทำน้ำหมักชีวภาพได้ ในอัตราส่วนผสมที่ได้อบรมมา ผ่านไป 2 สัปดาห์ ได้ตรวจสอบน้ำหมักปรากฎว่าใช้ได้ มีกลุ่มเป้าหมายบางส่วนได้นำน้ำหมักดังกล่าวไปใช้รดต้นไม้ พืช ผักการเกษตรที่ทำไว้
    3. กลุ่มเป้าหมายที่มาอบรมสามารถนำสูตรดังกล่าว ทำน้ำหมักชีวภาพที่เพื่อใช้ประโยชน์ในครัวเรือน และการเกษตร เป็นลดปริมาณขยะอินทรีย์ในครัวเรือน และลดสารเคมีต่างๆ

     

    0 70

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. มีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับทำน้ำหมักชีวภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบล ลำใหม่ทั้ง 7 หมู่ๆ ละ  10 คน รวมทั้งหมด 70 คน ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ อ.เมือง จังหวัดยะลา ในวันที่ 7 กันยายน  2560
    2. ประชาชนกลุ่มเป้ามีความรู้สามารถทำน้ำหมักชีวภาพได้ ในอัตราส่วนผสมที่ได้อบรมมา ผ่านไป 2 สัปดาห์ ได้ตรวจสอบน้ำหมักปรากฎว่าใช้ได้ มีกลุ่มเป้าหมายบางส่วนได้นำน้ำหมักดังกล่าวไปใช้รดต้นไม้ พืช ผักการเกษตรที่ทำไว้
    3. กลุ่มเป้าหมายที่มาอบรมสามารถนำสูตรดังกล่าว ทำน้ำหมักชีวภาพที่เพื่อใช้ประโยชน์ในครัวเรือน และการเกษตร เป็นลดปริมาณขยะอินทรีย์ในครัวเรือน และลดสารเคมีต่างๆ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อลดปริมาณขยะอินทรีย์
    ตัวชี้วัด : - ลดปริมาณขยะอินทรีย์

     

    2 2. เพื่อนำวัสดุเหลือใช้จากครัวเรือนมาทำน้ำหมักชีวภาพ
    ตัวชี้วัด : -ลดปริมาณขยะอินทรีย์

     

    3 3.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลลำใหม่ มีความรู้ความเข้าใจในการทำน้ำหมักชีวภาพ
    ตัวชี้วัด : - ประชาชนในพื้นที่ตำบลลำใหม่ มีความรู้ความเข้าใจในการทำน้ำหมักชีวภาพ และใช้ประโยชน์ได้จริง

     

    4 4 เพื่อลดปัญหามลพิษทาง และรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : - ลดปัญหามลพิษทาง และรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้อง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดปริมาณขยะอินทรีย์ (2) 2. เพื่อนำวัสดุเหลือใช้จากครัวเรือนมาทำน้ำหมักชีวภาพ (3) 3.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลลำใหม่ มีความรู้ความเข้าใจในการทำน้ำหมักชีวภาพ (4) 4 เพื่อลดปัญหามลพิษทาง และรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการน้ำหมักชีวภาพจากวัสดุเหลือใช้ เพื่อดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-ศ4141-01-14

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสูไวบ๊ะ บือราเฮง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด