กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ ชุมชนร่วมใจให้ความสำคัญกับหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ ปี2564
รหัสโครงการ 64-L2482-2-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อสม. รพ.สต.บ้านโคกมือบา
วันที่อนุมัติ 24 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 11 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 10,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวยามีล๊ะ อารง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.175,102.052place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้วัยเจริญพันธ์ มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการตั้งครรภ์ที่เหมาะสม

ผู้เข้าร่วมอบรมตอบคำถามได้ถูกต้องร้อยละ 80

0.00
2 เพื่อให้วัยเจริญพันธ์ หรือวัยรุ่น สามารถป้องกันตนเองจากกการตั้งครรภ์ก่อนวันอันควร

ผู้เข้าร่วมอบรมตอบคำถามได้ถูกต้องร้อยละ 80

0.00
3 เพื่อป้องตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

ไม่เกิดภาวะการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 10,000.00 0 0.00
1 มี.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 จัดอบรมให้ความรู้แก่วัยเจริญพันธ์ 0 10,000.00 -
  1. ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงานอนามัยมารดาในรอบปี ที่ผ่านมา
  2. ปรึกษาเจ้าหน้าที่ รพ. สต.บ้านโคกมือบา
  3. จัดทำโครงการ เสนอต่อคณะกรรมการ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโฆษิต
  4. ให้สุขศึกษาแก่วัยเจริญพันธ์
  5. สรุปผลการดำเนินงาน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. วัยเจริญพันธ์ มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
  2. วัยเจริญพันธ์ หรือวัยรุ่น สามารถป้องกันตนเองจากกการตั้งครรภ์ก่อนวันอันควร ร้อยละ 100
  3. ไม่เกิดภาวการณ์ตั้งครรภ์ไม่พร้อมในเขตพื้นที่รับผิดชอบร้อยละ 100
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ก.พ. 2564 13:36 น.