กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน


“ โครงการรวมพลังเฝ้าระวังป้องกันภัยโควิด ปี 2564 หมู่ที่ 5(บ้านหัวคุ้ง) ”

จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางจินดา เซ่งมาก

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังเฝ้าระวังป้องกันภัยโควิด ปี 2564 หมู่ที่ 5(บ้านหัวคุ้ง)

ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2564-L5221-2-10 เลขที่ข้อตกลง 22/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรวมพลังเฝ้าระวังป้องกันภัยโควิด ปี 2564 หมู่ที่ 5(บ้านหัวคุ้ง) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังเฝ้าระวังป้องกันภัยโควิด ปี 2564 หมู่ที่ 5(บ้านหัวคุ้ง)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรวมพลังเฝ้าระวังป้องกันภัยโควิด ปี 2564 หมู่ที่ 5(บ้านหัวคุ้ง) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2564-L5221-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก “Coronavirus disease 2019”เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมื่อปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลัน ปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มลฑลหูเป่ย ประเทศจีน จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวัดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและพบว่าเป็นเชื้อไวรัสโคโรนา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ 7 ที่ถูกค้นพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) และเมอร์ส (MERS) จากข้อมูลกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2564 มีรายงานผู้ป่วยยืนยันทั่วโลก รวม 222 ประเทศ รวมทั้งหมดจำนวน 109,706,777 คน รักษาหายแล้ว 84,252,624 คน เสียชีวิต 2,419,662 คน โดยประเทศที่มีจำนวนผู้ป่วยยืนยัน 10 อันดับแรกได้แก่ สหรัฐอเมริกา 28,317,703 คน, อินเดีย 10,925,710 คน, บราซิล 9,866,710 คนรัสเซีย 4,099,323 คน, สหราชอาณาจักร 4,047,843 คน, ฝรั่งเศส 3,469,539 คน, สเปน 3,086,286 คน, อิตาลี 2,729,223 คน, ตุรกี 2,594,128 คน และเยอรมนี 2,346,876 คนสถานการณ์การแพร่ระบาดในประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำนวน 24,961 คน รักษาหายและแพทย์ให้กลับบ้าน 23,697 คน ผู้ป่วยยืนยันที่เสียชีวิต 82 คน จังหวัดสงขลามีผู้ป่วยยืนยันสะสม 147 คน ระลอกใหม่ 13 คน พบในประเทศ 2 คน เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการที่สำคัญคือ การกักกันผู้ที่กลับมาจากต่างประเทศและพื้นที่เสี่ยงในศูนย์กักกัน(State Quarantine) การเฝ้าระวังผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด คือจังหวัดสมุทรสาคร และพื้นที่ควบคุม 8 จังหวัด(ตาก, กรุงเทพ, นนทบุรี, ปทุมธานี, นครปฐม, ราชบุรี, สมุทรสงคราม และสมุทรปราการ) จำเป็นต้องปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันโควิด 19 อย่างเคร่งครัด "สวมหน้ากาก เว้นระยะห่าง ล้างมือ สแกนไทยชนะ" โดย "ไม่ประมาท การ์ดไม่ตก" สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยทุกครั้งเมื่อออกนอกบ้าน เว้นระยะห่างระหว่างกัน 1 - 2 เมตร หมั่นล้างมือด้วยน้ำและสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์และสแกนแอปพลิเคชัน ไทยชนะทุกครั้ง เพื่อการสอบสวนและติดตามหากจำเป็น ซึ่งตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน พ.ศ. 2554 ข้อ 27(4) จัดกิจกรรมเฝ้าระวังและป้องกันปัญหาสาธารณสุขที่สอดคล้องกับสภาวะสุขภาพของท้องถิ่น
ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 ตำบลท่าบอน จึงจัดทำโครงการอาสาสมัครสาธารณสุขรับแพรกร่วมใจเฝ้าระวังภัยโควิด ปี 2564 ในพื้นที่หมู่ที่ 5 ตำบลท่าบอน เพื่อการป้องกันการติดเชื้อ/ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ในหมู่บ้าน และกิจกรรมการคัดกรองของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
  2. เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้ประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันโรคโควิด 19 ในหมู่ที่ 5 ทุกหลังคาเรือน
  2. จัดหาเวชภัณฑ์ทางการแพทย์สำหรับการปฏิบัติงานของอสม. และป้องกันตนเองของกลุ่มเปราะบาง
  3. จัดหาเครื่องมือทางการแพทย์สำหรับการปฏิบัติงานของอสม. และผู้เข้าร่วมกิจกรรมของหมู่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 71
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 82
กลุ่มวัยทำงาน 193
กลุ่มผู้สูงอายุ 137
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 5
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 167
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 22
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 164
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในหมูู่ที่ 5 ตำบลท่าบอนมีความรู้และปฏิบัติตนได้ถูกต้องในการป้องกันโรคโควิด 19 2.อสม. หมู่ที่ 5 มีการคัดกรองเฝ้าระวังผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง และการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ในหมู่บ้าน 3.ประชาชนในหมูู่ที่ 5 ตำบลท่าบอนไม่ป่วยด้วยโรคโควิด 19


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
80.00 90.00

 

2 เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
80.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 841
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 71
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 82
กลุ่มวัยทำงาน 193
กลุ่มผู้สูงอายุ 137
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 5
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 167
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 22
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 164
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง (2) เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้ประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันโรคโควิด 19 ในหมู่ที่ 5 ทุกหลังคาเรือน (2) จัดหาเวชภัณฑ์ทางการแพทย์สำหรับการปฏิบัติงานของอสม. และป้องกันตนเองของกลุ่มเปราะบาง (3) จัดหาเครื่องมือทางการแพทย์สำหรับการปฏิบัติงานของอสม. และผู้เข้าร่วมกิจกรรมของหมู่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรวมพลังเฝ้าระวังป้องกันภัยโควิด ปี 2564 หมู่ที่ 5(บ้านหัวคุ้ง) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2564-L5221-2-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจินดา เซ่งมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด