กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตรวจหาสารพิษตกค้างในเกษตรกรตำบลพิจิตร ประจำปี2564
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ แกนนำสุขภาพตำบลพิจิตร
วันที่อนุมัติ 3 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 26 มีนาคม 2564 - 8 เมษายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 5 พฤษภาคม 2564
งบประมาณ 22,550.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายจรัส แก้วขวัญทองและนางสกุลรัตน์ เทพรัตน์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลพิจิตร อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.991,100.561place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 110 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพเกษตรกรในการใช้สารเคมีจำกัดศัตรูพืช

ร้อยละ90ของประชากรกลุ่มเสี่ยงจากาารประกอบอาชีพเกษตรกรในการใช้สารเคมีจำกัดศัตรูพืชได้รับการตรวจค้าหาความเสี่ยง

0.00
2 เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีระดับสารเคมีในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติและปลอดภัยเพิ่มขึ้น

ร้อยละ70ของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีระดับสารเคมีในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติและปลอดภัยเพิ่มขึ้น

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.ประชาสัมพันธ์โครงการประชุมชี้แจงการดำเนินงานตรวจหาสารพิาตกค้างในเกษตรกรและการเฝ้าระวังติดตามกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มไม่ปลอดภัยต่อสารเคมีกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกรให้แก่ อสม.ต.พิจิตร 2.ค้นหากลุ่มเสี่ยงในชุมชน 3.ให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจคัดกรอง 4.ดำเนินการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อสารเคมีกำจัดศัตรูพืชแบ่งกิจกรรมเป็นฐานเพื่อให้ความรู้และคำปรึกษา 5.ประเมินผลการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 6.จัดทำฐานข้อมูลการประเมินความเสี่ยงของกลุ่มเป้าหมาย 7.ติดตามและประเมินผลกลุ่มเสี่ยงตรวจหาระดับโคลีนเอสเตอเลส
8.สรุปผลการเฝ้าระวังติดตามในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มไม่ปลอดภัย สรุปผลการดำเนินการโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและไม่ปลอดภัยเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และมีการลดใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 มี.ค. 2564 10:18 น.