โครงการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ
ชื่อโครงการ | โครงการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 |
วันที่อนุมัติ | 25 กุมภาพันธ์ 2564 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 15 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 ตุลาคม 2564 |
งบประมาณ | 20,800.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายทวี เกื้อเส้ง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.337,100.171place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 100 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2548 มีประชากรสูงอายุร้อยละ 10 .17(ุ6.6ล้านคน)คาดประมาณว่าในปี2564 ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป จะมีสัดส่วนสูงถึง ร้อยละ20 ของประชากรทั้งหมด(การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ.2553-2583 ของสศช)ผู้สูงอายุต้องได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องในเบื้องต้น เพื่อสร้างสุขอนามัยที่ดี ปัจจุบันปัญหาสุขภาพช่องปากพบได้มากในผู้สูงอายุ 7ประเทศไทยได้ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2548 มีประชากรสูงอายุร้อยละ 10.17(6ล้านคน)คาดประมาณว่าในปี 2564 ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ ปัจจุบันปัญหาสุขภาพในช่องปากพบได้มากในผู้สูงอายุ 7 ระดับ ได้แก่ ฟันผุ รากฟันผุ เหงือกอักเสบ ภาวะน้ำลายแห้ง มะเร็งช่องปาก ฟันสึก โรคช่องปากที่เกี่ยวกับโรคเบาหวาน และนำไปสู่การสูญเสียฟันในที่สุด สุขภาพช่องปากจึงมีความสำคัญกว่าที่คิด เพราะเป็นกระจกสะท้อนอย่างดีของสุขภาพ ปัญหาสุขภาพหลายอย่างส่งสัญญาณผิดปกติออกมาผ่านกลิ่น สี และความรู้สึกทางช่องปากและในทางกลับกัน ถ้าสุขภาพช่องปากไม่ดีอาจนำโรคร้ายไปสู่อวัยวะอื่นๆในร่างกายได้อีกด้วย เพราะมีช่องทางเชื่อมต่อไปสู่อวัยวะสำคัญอย่างเช่น ปอด หัวใจ และระบบเส้นเลือดของร่างกาย การมีคุณภาพชีวิตที่ดีจึงไม่อาจละเลยเรื่องสุขภาพช่องปากได้ ไม่ว่าจะเรื่องกิน พูด ยิ้มและหัวเราะ โดยผู้สูงอายุยิ่งสูงวัยความเสี่ยงต่อการมีปัญหาสุขภาพช่องปากยิ่งมีมาก เพราะสภาวะร่างกายเสื่อมถอยลง ผลข้างเคียงของยาที่รักษาโรคมีผลทำให้ต้องการดูแลที่แตกต่างและซับซ้อนกว่าคนทั่วไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1)เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลช่องปาก ผู้สูงอายุได้นำความรู้ในการดูแลฟันในช่องปากในชีวิตประจำวันได้ |
0.00 | |
2 | 2)เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ร่วมโครงการได้รับการดูแลสุขภาพช่องปาก ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพช่องปาก |
0.00 | |
3 | 3)เพื่อให้ผู้สูงอายุแปลงฟันอย่างถูกวิธี ผู้สูงอายุได้มีสุขภาพในช่องปากที่ดี |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 25 | 20,800.00 | 1 | 20,800.00 | |
15 มี.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 | อบรมให้ความรู้การดูแลสสุขภาพในช่องปาก | 25 | 20,800.00 | ✔ | 20,800.00 |
วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) ขั้นวางแผน(plan) 1. ประชุมชี้แจงแผนงานดำเนินงานโครงการ( เสนอโครงการ) ขั้นดำเนินการ(do) 2.แต่งตั้งคณะทำงาน 3. จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ - อบรมให้ความรู้รณรงค์ให้นักเรียนเห็นความสำคัญของการคัดแยกขยะ ขั้นการตรวจสอบ/ประเมินผล(Check) 4. นิเทศติดตาม / ประเมินผล ขั้นการปรับปรุง/พัฒนา(Action) 5 สรุปผล/จัดทำรายงานเพื่อพัฒนาปรับปรุงในต่อไป
1ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปาก 2ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับการดูแลสุขภาพช่องปาก 3ผู้สูงอายุแปรงฟันอย่างถูกวิธี
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 มี.ค. 2564 11:19 น.