กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ชุมชนร่วมใจส่งเสริมผู้สูงอายุให้สุขภาพดี
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ แกนนำสุขภาพชุมชนมาบข่า-สำนักอ้ายงอน
วันที่อนุมัติ 1 ตุลาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 3 มีนาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 เมษายน 2563
งบประมาณ 8,850.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.นายวิเชียร ศักดิ์เจริญ 2.น.ส.อุไร รักดี 3.นางเล็ก ค่าคาม 4.นางบุญศรี แก้วจรัสฉาย 5.นางนภัสนันท์ ล้อตระกูลนุกิจ
พี่เลี้ยงโครงการ น.ส.มณเฑียร ทองนพคุณ หัวหน้าศูนย์บริการสาธารณสุขมาบข่า ทม.มาบตาพุด
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนมาบข่า-สำนักอ้ายงอน เทศบาลเมืองมาบตาพุด ตำบลห้วยโป่ง อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง
ละติจูด-ลองจิจูด 12.787654,101.163912place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2562 31 มี.ค. 2563 8,850.00
รวมงบประมาณ 8,850.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีกลุ่มหรือสังกัดชมรม
80.00
2 จำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เช่น หกล้มง่าย เป็นต้น
2.00
3 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม
50.00
4 ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์)
12.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ

ผู้สูงอายุมีกลุ่มหรือสังกัดชมรม เพิ่มขึ้น

80.00 70.00
2 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ

ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง

2.00 1.00
3 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ

ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น

12.00 15.00
4 เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม  ลดลง

50.00 45.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 380 8,850.00 3 8,850.00
1 ต.ค. 62 ประชุมวางแผนงานกิจกรรมผู้สูงอายุ กับแกนนำชุมชน ตัวแทนผู้สูงอายุและครอบครัว 20 0.00 0.00
2 - 31 ต.ค. 62 ประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้สูงอายุและครอบครัวเข้าร่วมโครงการ 180 500.00 500.00
5 พ.ย. 62 - 3 มี.ค. 63 จัดอบรมให้ความรู้และจัดกิจกรรมชมรมรวม 6 ครั้ง ครั้งละ 30 คน 180 8,350.00 8,350.00

-ใช้แนวคิดการดำเนินงาน 3 อ 2 ส (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย สมองชะลอเสื่อม สามวัยใจเดียวกัน) โดยใช้กลวิธีสร้างการมีส่วนร่วมภาครัฐ เอกชน ประชาชน มีผู้สูงอายุเป็นศูนย์กลาง บริหารบนพื้นฐานต้นทุนชุมชน พัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ ทีมงาน ก้าวทันเทคโนโลยี และสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงใหม่ -จัดให้มีกลุ่มเล่นดนตรีอังกะลุง

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุมีศักยภาพในการดูแลตนเองและพึ่งพาตนเองได้นานที่สุด 2.เกิดต้นแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยมีชุมชนเป็นฐาน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 มี.ค. 2564 14:21 น.