โครงการป้องกันควบคุมโรคระบาดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาเจียก
ชื่อโครงการ | โครงการป้องกันควบคุมโรคระบาดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาเจียก |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาเจียก |
วันที่อนุมัติ | 1 มีนาคม 2564 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 17,002.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางศิริกานต์ จันทร์รัตน์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 63 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด | 2.52 | ||
2 | ร้อยละของสถานที่ในชุมชน (ตลาด ศาสนสถาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน สนามกีฬา และสถานที่ทำงาน) ที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 | 70.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากสถานการณ์การเกิดโรคระบาดในจังหวัดพัทลุงที่ผ่านมาได้เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) อีกทั้งได้เกิดการแพร่ระบาดของโรคมือ เท้า ปาก ขึ้นเป็นประจำทุกปี สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาเจียกมีเด็กที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคมือ เท้า ปาก จำนวน 4 คน ซึ่งจะเห็นได้ว่าโรคระบาดรวมทั้งโรคอุบัติใหม่ต่างๆสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่หากไม่มีการป้องกัน ควบคุมที่เหมาะสม ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาเจียกมีครูผู้ดูแลเด็กจำนวน 4 คน และมีนักเรียนจำนวน 63 คน หากจะป้องกันควบคุมโรคระบาดต่างๆให้เกิดประสิทธิภาพจำเป็นต้องสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับครู บุคลากร ตลอดจนผู้ปกครอง และต้องมีมาตรการในการป้องกันโรคที่เหมาะสม
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด การแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(ร้อยละ) |
2.52 | 0.00 |
2 | เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น ร้อยละของสถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 |
70.00 | 100.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 17,002.00 | 0 | 0.00 | 17,002.00 | |
22 มี.ค. 64 | สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันควบคุมโรคระบาด | 0 | 3,755.00 | - | - | ||
1 เม.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 | จัดทำจุดคัดกรองโรค | 0 | 9,185.00 | - | - | ||
1 เม.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 | Big Cleaning Day | 0 | 4,062.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 17,002.00 | 0 | 0.00 | 17,002.00 |
เด็กเล็ก ครูผู้ดูแลเด็ก บุคลากร และผู้ปกครองเด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาเจียกปลอดภัยจากโรคระบาด
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 มี.ค. 2564 15:07 น.