กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาราโหม


“ โครงการคุมครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข ตำบลบาราโหม อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ”

ตำบลบาราโหม อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางฮามีดะห์ สะแลแม

ชื่อโครงการ โครงการคุมครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข ตำบลบาราโหม อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

ที่อยู่ ตำบลบาราโหม อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L3014-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 กรกฎาคม 2560 ถึง 27 กรกฎาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคุมครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข ตำบลบาราโหม อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาราโหม อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาราโหม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคุมครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข ตำบลบาราโหม อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคุมครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข ตำบลบาราโหม อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาราโหม อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3014-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 กรกฎาคม 2560 - 27 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาราโหม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามเจตนารมย์แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอนาจักรไทย พ.ศ.๒๕๔๐ มาตรา ๕๗ กล่าวว่า "ประชาชนต้องได้รับการคุ้มครองในฐานะผู้บริโภค ด้านสุขภาพอย่างสม่ำเสมอ"โดยให้สำคัญกับเรื่องสิทธิในฐานะผู้บริโภค ไม่ห้ผู้ใดมาเอารัดเอาเปรียบหรือยัดเยียดให้ซื้อและบริโภคแต่เฉพาะสิ่งที่ผู้ประกอบการหรือผู้ขายเป็นผู้กำหนดให้ ทั้งชนิด ปริมาณ ราคา และคุณภาพ หรือแม้แต่สิ่งเจอปนด้วยสารพิษอันเป็นการทำลายสุขภาพของผู้บริโภค ซึ่งการคุ้มครองผู้บริกโภค หมายถึง การป้องกันดูแลผู้บริโภคให้ได้รับความปลอดภัย เแป็นธรรมและประหยัดจากการบริโภคสินค้าและบริการ เพื่อให้ผู้บริโภคปลอดภัยการจากใช้บริการด้านสุขาพและผลิตภัณฑืด้านสุขภาพ ไม่ว่าเป็นอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์และบริการต่างๆ มีผลกระทบต่อสุขภาพ โดยกำหนดสิทธิในการเข้าถึงด้านสุขภาพที่เหมาะสม สิทธิที่จะได้รับข้อมูลข่าวสาร ความรู้เป็นต้น สถานการณ์ในปัจจุบันได้มีสินค้าและบริการที่หลากหลายเพิ่มมากขึ้น ในการดำเนินการด้านคุ้มครองผู้บริโภคที่ผ่านมา ภาคประชาชนเข้ามามีบทบาทน้อยทำให้ขาดการมีส่วนร่วมและการพัฒนาที่ยั่งยืน และได้รับข้อมูลข่าวสารไม่เพียวพอ ทำให้เกิดการเอารัดเอาเปรียบจากผู้ประกอบการหรือผู้จำแหน่ายสินค้าและบริการ จากข้อมูลสถานะสุขภาพของประชาชนในตำบลบาราโหม อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ปี 2559 พบว่า กลึฃุ่มโรคไม่ติดเชื้อมีแนวโน้มสูงขึ้น โดยเฉพาะมะเร็งตับ ปอด นอกจากนี้ กลุ่มโรคที่ต้องเฝ้าระวัง ได้แก่อุจาระร่วง และโรคอาหารเป็นพิษยังคงเป็นปัญหาสาธารณะสุขอันดับต้นๆ ที่สำคัญของอำเภอเมืองจังหวัดปัตตานี ซึ่งต้องมีการดำเนินการเผ็าระวังและมาตราการในการควบคุม ป้องกันเพื่อลดปัยหาต่อไป ทั้งนี้ สาเหตุส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง เหมาะสมของประชาชน และการเปลี่ยนแปลงของสังคมชนบทสู่สังคมเมือง ส่งผลให้วิถีชีวิตของประชาชน ภาวะสุขภาพของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น ทางอาสาสมัครสาธารณสุขร่วมปันโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลบาราโหม ได้เห็นความสำคัญของการคุ้มครองผู้บริกโภคและเฝ่้าระวังอาหารให้ปลอดสารปนเปื้อน 6 ชนิด ได้แก่ สารเร่งเนื้อแดง สารบอเร็ค สารฟอร์มาลีน สารฟอกขาว สารกันเชื้อรา และยาฆ่าแมลง ผ่านเกณฑ์ความปลอดภัย จึงได้จัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข ตำบลบาราโหม อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2560 จะส่งผลให้ประชาชนในตำบลบาราโหม ได้รับคงวามคุ้มครองความปลอดภัยในการบริโภคอาหารอย่างครอบคลุมมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถเลือกบริโภคอาหารได้อย่างมั่นใจและปลอดภัยจากสารปนเปื้อน
  2. เพื่อให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารปลอดภัยจากสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
  3. เพื่อเสริมสร้างควมเข้มแข็งให้เครือข่ายในการตรวจสอบ เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาสารปนเปื้อนในอาหารของชุมชนในตำบลบาราโหม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนได้รับความรุ็ในเรื่องความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2.อาหารสดปลอดสารปนเปื้อน 6 ชนิด และผักผลไม้ปลอดยาฆ่าแมลง 3.ร้านอาหาร/แผงลอยปรุงสำเร็จผ่านเกณฑ์มาตรฐานClean Food Good Taste


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถเลือกบริโภคอาหารได้อย่างมั่นใจและปลอดภัยจากสารปนเปื้อน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารปลอดภัยจากสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อเสริมสร้างควมเข้มแข็งให้เครือข่ายในการตรวจสอบ เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาสารปนเปื้อนในอาหารของชุมชนในตำบลบาราโหม
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถเลือกบริโภคอาหารได้อย่างมั่นใจและปลอดภัยจากสารปนเปื้อน (2) เพื่อให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารปลอดภัยจากสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (3) เพื่อเสริมสร้างควมเข้มแข็งให้เครือข่ายในการตรวจสอบ เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาสารปนเปื้อนในอาหารของชุมชนในตำบลบาราโหม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการคุมครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข ตำบลบาราโหม อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-L3014-2-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางฮามีดะห์ สะแลแม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด