กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหมอ


“ “วัยรุ่น วัยใส รู้ ใส่ใจ รักอย่างปลอดภัย” ”

ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสมพรศรี ชูโตชนะ

ชื่อโครงการ “วัยรุ่น วัยใส รู้ ใส่ใจ รักอย่างปลอดภัย”

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-l5247-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2560 ถึง 20 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"“วัยรุ่น วัยใส รู้ ใส่ใจ รักอย่างปลอดภัย” จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหมอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
“วัยรุ่น วัยใส รู้ ใส่ใจ รักอย่างปลอดภัย”



บทคัดย่อ

โครงการ " “วัยรุ่น วัยใส รู้ ใส่ใจ รักอย่างปลอดภัย” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-l5247-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2560 - 20 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,936.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหมอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เป็นประเด็นที่มีความสำคัญและส่งผลกระทบถึงสังคมในวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจของแม่และเด็ก โดยพบว่าอัตราการตั้งครรภ์ของแม่ที่มีอายุระหว่าง 15-19 ปี จำนวนเพิ่มขึ้นจาก 112,509 คน หรือร้อยละ 49.7 ต่อหญิงอายุ 15-19 ปีพันคน ในปี 2549 เป็นจำนวน 119,828 หรือร้อยละ 51.1 ต่อหญิงอายุ 15-19 ปีพันคนในปี 2555 การแก้ไขปัญหาเรื่องท้องในวัยรุ่นเป็นประเด็นที่จะต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนของสังคม ตั้งแต่การรณรงค์โดยมุ่งไปที่ตัววัยรุ่นเองให้ตระหนักถึงปัญหาและให้ความสำคัญของการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์โดยปลอดภัยและรับผิดชอบ รวมถึงการเรียนการสอนในการเพิ่มทักษะชีวิตและเพศศึกษาแบบรอบด้าน เพื่อให้วัยรุ่นมีทักษะในการสื่อสาร การรู้จักปฏิเสธ ประเด็นเรื่องท้องในวัยรุ่นได้รับความสนใจจากคนในสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเวลาที่มีเหตุการณ์เกิดขึ้น เช่น เหตุการณ์ 2002 ศพในปี 2553 ทำให้สังคมให้ความตื่นตัวต่อกรณีนี้อย่างมาก และเป็นประเด็นที่มีการถกเถียงกันของสังคมในวงกว้าง จนนำไปสู่การเสนอให้มีการแก้ไขกฎหมายทำแท้ง อย่างไรก็ตามทางภาครัฐเห็นว่า ยังไม่มีความจำเป็นที่จะแก้กฎหมาย ทั้งนี้เพราะกฎหมายอาญาเปิดโอกาสให้ทำแท้งได้อยู่แล้วใน 2 กรณี คือถ้าปล่อยให้อายุครรภ์มากขึ้นจะเป็นอันตรายต่อแม่ที่ตั้งครรภ์ และกรณีถูกข่มขืน รัฐเล็งเห็นว่าทางออกที่ดีที่สุดของปัญหานี้ก็คือทุกหน่วยงานต้องร่วมมือกันและมาตรการที่ดีที่สุด คือมาตรการป้องกัน เพราะการทำแท้งเป็น การแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ที่ดีที่สุดคือการให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา การวางแผนครอบครัว โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงาน การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและการติดเชื้อ HIV เป็นปัญหาที่พบบ่อยในสังคมไทยปัจจุบัน เนื่องจากพฤติกรรมการเลียนแบบต่าง ๆ ที่ไม่เหมาะสม มาเป็นค่านิยมในสังคมวัยรุ่น โดยการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร หรือมีความสัมพันธ์แบบชายรักชาย ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาทางสังคม ตามมา เช่นปัญหาการตั้งครรภ์ในระหว่างเรียน การทำแท้ง การทะเลาะวิวาท ตลอดจนคิดสั้นทำร้ายตนเอง เป็นต้น ดังนั้น วัยรุ่นเป็นวัยที่อาจถูกชักจูงได้ง่าย ขาดความนับถือตนเอง รวมถึงขาดทักษะชีวิต ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง ในด้านต่าง ๆ เช่น ขับรถประมาท ยกพวกตีกัน ดื่มสุรา และใช้สารเสพติด มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ระวัง ส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ทั้งนี้ พฤติกรรมเสี่ยงดังกล่าว เป็นสาเหตุการตายของวัยรุ่น โดยเฉพาะเพศหญิง ได้แก่ การทำแท้ง การคลอด การติดเชื้อ HIV ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่ป้องกันหรือหลีกเลี่ยงได้ กิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น จึงมุ่งเน้นที่จะสร้างความรู้ ความเข้าใจในเรื่องบทบาททางเพศที่แตกต่างกันระหว่างหญิงชาย เพื่อให้เกิดการช่วยเหลือเกื้อกูลกันได้อย่างสมดุลสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ เช่น พัฒนาการทางเพศตามวัย การรักษาสัมพันธภาพกับเพื่อนเพศเดียวกันและต่างเพศ การตัดสินใจและแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับเรื่องเพศ จากตัวอย่างปัญหาดังกล่าว จึงจำเป็นอย่างยิ่งในการกำหนดแนวทางส่งเสริมสุขภาพแก่วัยรุ่นและเยาวชนให้เกิดสุขภาวะที่ปลอดภัยในการดำเนินชีวิตในสังคม ป้องกันและลดปัญหาอนามัยการเจริญพันธุ์ของวัยรุ่น นำไปสู่ประโยชน์สูงสุดแก่วัยรุ่นและเยาวชนของชาติที่จะเติบโตเป็นอนาคตของประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. สร้างความตระหนักและองค์ความรู้เรื่องบทบาทและคุณค่าของความเป็นชาย/หญิงในสังคม พัฒนาการทางเพศ การจัดการอารมณ์ สัมพันธ์ภาพทางเพศ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น
  2. 2.เสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต และพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
  3. ข้อที่ 3. เพื่อให้ความรู้ในเรื่องเพศศึกษาอย่างถูกต้องและง่ายสำหรับการเข้าใจสำหรับวัยรุ่น
  4. ข้อที่ 4. เพื่อให้เยาวชนได้มีโอกาสในการแสดงความคิดเห็นในเรื่องเพศในวัยรุ่น
  5. ข้อที่ 5 เพื่อพัฒนาเครือข่ายการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและการแก้ไขปัญหาวัยรุ่นในโรงเรียน ในรูปแบบเพื่อนช่วยเพื่อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. แบ่งกลุ่มย่อย
  2. จัดตั้งชมรม เพื่อนวัยใส
  3. ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ เดือนละครั้งโดยตัวแทน อสม.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 68
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 68
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.วัยรุ่นมีทักษะและภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
2.เสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการ ดำรงชีวิต และพฤติกรรมเสี่ยงในเรื่องเพศ 3.วัยรุ่นมีความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์ เพศศึกษามากขึ้น
4.วัยรุ่นสามารถให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาเรื่องเพศ และสามารถช่วยเหลือเพื่อนในโรงเรียน ในชุมชน เกี่ยวกับปัญหาทางเพศ และสุขภาพได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. แบ่งกลุ่มย่อย

วันที่ 22 สิงหาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับเพศศึกษา อนามัยเจริญพันธ์ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมสามารถนำความรู้เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันให้วันรุ่นสามารถใช้ชีวิตอย่างปลอดภัย

 

0 0

2. จัดตั้งชมรม เพื่อนวัยใส

วันที่ 22 สิงหาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

คัดเลือกแกนนำเพื่อเป็นตัวแทนของผู้เข้าร่วมโครงการ พร้อมจัดตั้งชมรม เพื่อนวัยรุ่น 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับการจัดตั้งชมรม เพื่อนวัยรุ่นจากตัวแทนของผู้เข้ารับการอบรม เป็นจำนวน 14 คน

 

0 0

3. ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ เดือนละครั้งโดยตัวแทน อสม.

วันที่ 3 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นที่ให้ความรู้กับประชาชนในวันประชุมประจำเดือนของหมู่บ้านทุกหมู่ จำนวน 7 หมู่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้ในการและสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับบุตรหลายที่อยู่ในช่วงวัยรุ่นได้อย่างถูกต้อง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. สร้างความตระหนักและองค์ความรู้เรื่องบทบาทและคุณค่าของความเป็นชาย/หญิงในสังคม พัฒนาการทางเพศ การจัดการอารมณ์ สัมพันธ์ภาพทางเพศ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : 1 ผู้เข้าร่วมอบรมทุกคนมีความรู้และตระหนักในเรื่องบทบาทและพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ

 

2 2.เสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต และพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายทุกคนมีความภาคภูมิใจในตนเองและมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมเสี่ยงต่อการดำรงชีวิตและพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ

 

3 ข้อที่ 3. เพื่อให้ความรู้ในเรื่องเพศศึกษาอย่างถูกต้องและง่ายสำหรับการเข้าใจสำหรับวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรมทุกคนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษา

 

4 ข้อที่ 4. เพื่อให้เยาวชนได้มีโอกาสในการแสดงความคิดเห็นในเรื่องเพศในวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : 1 ผู้เข้าร่วมประชุมทุกคนร่วมแสดงความคิดเห็นเรื่องเพศ

 

5 ข้อที่ 5 เพื่อพัฒนาเครือข่ายการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและการแก้ไขปัญหาวัยรุ่นในโรงเรียน ในรูปแบบเพื่อนช่วยเพื่อน
ตัวชี้วัด : 1.จัดตั้งชมรม เพื่อนวัยใส

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 136
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 68
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 68
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. สร้างความตระหนักและองค์ความรู้เรื่องบทบาทและคุณค่าของความเป็นชาย/หญิงในสังคม พัฒนาการทางเพศ การจัดการอารมณ์ สัมพันธ์ภาพทางเพศ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น (2) 2.เสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต และพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ (3) ข้อที่ 3. เพื่อให้ความรู้ในเรื่องเพศศึกษาอย่างถูกต้องและง่ายสำหรับการเข้าใจสำหรับวัยรุ่น (4) ข้อที่ 4. เพื่อให้เยาวชนได้มีโอกาสในการแสดงความคิดเห็นในเรื่องเพศในวัยรุ่น (5) ข้อที่ 5 เพื่อพัฒนาเครือข่ายการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและการแก้ไขปัญหาวัยรุ่นในโรงเรียน ในรูปแบบเพื่อนช่วยเพื่อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แบ่งกลุ่มย่อย (2) จัดตั้งชมรม เพื่อนวัยใส (3) ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ เดือนละครั้งโดยตัวแทน อสม.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


“วัยรุ่น วัยใส รู้ ใส่ใจ รักอย่างปลอดภัย” จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-l5247-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสมพรศรี ชูโตชนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด