กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยจิตเวชและผู้ดูแลหลักโดยชุมชนมีส่วนร่วมตำบลแม่ดง
รหัสโครงการ 64-L2520-1-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแม่ดง
วันที่อนุมัติ 16 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 16,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอมรี มะดาโอ๊ะ
พี่เลี้ยงโครงการ นายอับดุลรอฮิม มะดาโอ๊ะ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลแม่ดง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 5.892,101.82place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชเป็นปัญหาสำคัญปัญหาหนึ่งของระบบสุขภาพประเทศไทย โดยประมาณการว่าประชากร 1 ใน 5 มีปัญหาสุขภาพจิตจากรายงานสุขภาพสถิติของกรมุสขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข โรคจิตเวชเป็นปัญหาสุขภาพจิตอย่างหนึ่งที่นับวันมีจำนวนมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาสังคม และเศรฐกิจ ซึ่งโรคจิตเวชก่อให้เกิดความผิดปกติทางด้านความคิด อารมณ์ การรับรู้และพฤติกรรม บกพร่องในการดูแลตนเอง ขาดทักษะพื้นฐานในการแก้ปัญหาโรงพยาบาลแว้ง มีจำนวนผู้ป่วยทางจิตเวชที่เข้ามารับบริการ เดือนละประมาณ 80 ราย โดยเป็นรายใหม่ 3/5 รายต่อเดือน ผู้ป่วยจิตเวชที่เข้ามารับบริการในโรงพยาบาลแว้ง ปี 2560-2562 จำนวน 569,600,652 ราย ตามลำดับในเขตพื้นที่รับผิดชอบของตำบลแม่ดง มีผู้ป่วยจิตเวชในปี 2560-2562 จำนวน 50,58,70 ราย จากการทบทวนพบว่า ยังมีผู้ป่วยจิตเวชไม่เข้าถึงบริการ รักษาไม่ต่อเนื่อง อาการกำเริบซำ้ เครือข่ายชุมชนไม่มีส่วนร่วมในการดูแลทำให้ภาวะผู้ดูแลเป็ฯปัญหาของชุมชน ซึ่งถ้ามีอาการทางจิตอย่างรุนแรงหรือมีลักษณะเสี่ยงต่อการก่อพฤติกรรมที่เป็นอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินของตนเองและผู้อื่น   ดังนันทางงานสุขภาพจิต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแม่ดง ได้เห็นความสำคัญโรคจิตเวช จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ป่วยจิตเวชและผู้ดูแลหลัก โดยชุมชนมีส่วนร่วม เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชรับยาต่อเนื่องไม่มีอาการกำเริบซำ้และลดภาระภาวะของผู้ดูแลหลักโดยชุมชนมีส่วนร่วม

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชมีความรู้ในการดูแลผู็ป่วย

ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการดูแลจากญาติ ร้อยละ 100

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 50 16,100.00 0 0.00
1 เม.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการพัฒนาศักภาพผู้ป่วยจิตเวชและผู้ดูแลหลักโดยชุมชนมีส่วนร่วม ตำบลแม่ดง 40 16,100.00 -
1 เม.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 แพทย์ เจา้หน้าที่ออกติดตามดูแลถามอาการผู้ป่วยจิตเวช 10 0.00 -
  1. จัดทำโครงการเสนอและขออนุมัติ 2. ประขชุมวางแผนดำเนินงาน 3.เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และสิ่งสนับสนุนการดำเนินงาน 4.ประสานเครือข่ายในการดำเนินโครงการฯ 5.เตรียมจัดสถานที่ในการจัดทำโครงการ 6.จัดทำโครงการตามกิจกรรมที่กำหนด 7. สรุป ติดตามประเมินผลเมื่อสิ้นสุดโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อผู้ป่วยจิตเวชและผู้ดูแลหลักมีความรู้ เกิดทักษะในการดูแลตนเองและครอบครัว 2. เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชได้รับยาอย่างต่อเนื่องไม่มีอาการกำเริบ 3.เพื่อให้เครือข่ายในชุมชนมีส่วนร่วม ในการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยจิตเวชประเภทแบบยั่งยืน 4.เพื่อสร้างแกนนำ เครือข่ายในชุมชนค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยจิตเวชประเภทเบื้องต้นได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 มี.ค. 2564 10:41 น.