กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนปลอดขยะ
รหัสโครงการ 64-L5273-2-8
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนหาดใหญ่เจริญราษฎร์พิทยา
วันที่อนุมัติ 6 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2564 - 15 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 23,550.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเอกพล ดำรงจิรธนากร
พี่เลี้ยงโครงการ นางดวงใจ อ่อนแก้ว
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.007,100.296place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2564 15 ก.ย. 2565 23,550.00
รวมงบประมาณ 23,550.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 319 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสภาพปัจจุบันโรงเรียนหาดใหญ่เจริญราษฎร์พิทยา มีจำนวนนักเรียน บุคลากรและชุมชนที่มาใช้บริการในสถานศึกษา แหล่งเรียนรู้เพิ่มขึ้น ทำให้ปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยเพิ่มตามอย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดปัญหามลภาวะกับสิ่งแวดล้อมอากาศ น้ำ ดิน สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ให้ปัญหาสุขภาพของนักเรียนและชุมชนใกล้เคียง การแก้ปัญหาเรื่องขยะที่ดีวิธีหนึ่ง คือ การให้ความรู้กับนักเรียน ครูและชุมชนให้มีความตระหนัก มีวิธีการที่ดีในการกำจัด หรือลดการใช้ การคัดแยก การนำมาใช้ประโยชน์หรือสร้างคุณค่า หลักการ แก้ปัญหาขยะในโรงเรียนเป็นโครงการที่สามารถแก้ปัญหา ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อ 1.เพื่อให้ครู นักเรียน และชุมชนมีความรู้เรื่องการกำจัดขยะการคัดแยกมาใช้ประโยชน์

ร้อยละ 80 ของครู และนักเรียนสามารถคัดแยกขยะมาใช้ประโยชน์ได้

0.00
2 ข้อ 2.เพื่อให้โรงเรียน เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับชุมชนในการจัดการขยะอย่างมีคุณภาพ

จำนวนครูและนักเรียนที่เข้ารับการอบรม แล้วนำมาปรับใช้ที่โรงเรียนและที่บ้าน

0.00
3 ข้อ 3.เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้ นักเรียน ครู และชุมชนมีนิสัยในการจัดเก็บขยะ แยกขยะนำขยะมาใช้ประโยชน์นำขยะมาคัดแยกสร้างคุณค่าลดขยะที่เป็นมลภาวะทำลายสิ่งแวดล้อม เพื่อดูแลสุขภาพที่ดีของทุกคน

ร้อยละ 80 ของครู นักเรียน มีพฤติกรรมการทิ้งและการคัดแยกของนักเรียนประจำวัน (5ส.) ขยะที่ลดลง

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 180 23,550.00 3 23,550.00
1 เม.ย. 64 - 31 ส.ค. 65 1.อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะด้วยหลัก 3Rs 90 15,400.00 15,400.00
1 เม.ย. 64 - 31 ส.ค. 65 2.กิจกรรมทำน้ำหมักชีวภาพ 90 8,150.00 8,150.00
1 - 15 ก.ย. 65 3.ติดตามและประเมินผล 0 0.00 0.00

1.อบรมให้ความรู้นักเรียนเรื่องการจัดการขยะด้วยหลัก 3Rs 2.นักเรียนคัดแยกขยะทุกวันอังคาร 3.นักเรียนแต่ละชั้นเรียนคัดแยกขยะก่อนทิ้ง บิดก่อนหย่อน 4.นำขยะอินทรีย์ ใบไม้ ทำปุ๋ยหมักชีวภาพ รดต้นไม้ 5.สรุปประเมินผล/รายงานหน่วยงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียน ครู ชุมชน มีความรู้การแก้ปัญหาขยะ ตระหนักถึงผลกระทบในเรื่องสุขภาพของตนเองและชุมชน สิ่งแวดล้อม รู้วิธีคัดแยกขยะ การนำขยะมาใช้ให้เกิดประโยชน์และคุณค่า ลดการใช้ขยะที่ก่อให้เกิดมลภาวะ โรงเรียนมีขยะน้อยละครูนักเรียนและชุมชนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตดีมีคุณภาพชีวิตที่ดี

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 มี.ค. 2564 11:27 น.