กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์


“ กรณีเกิดโรคระบาดฉุกเฉินในพื้นที่ ”

ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
กรรมการกองทุนฯ

ชื่อโครงการ กรณีเกิดโรคระบาดฉุกเฉินในพื้นที่

ที่อยู่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"กรณีเกิดโรคระบาดฉุกเฉินในพื้นที่ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
กรณีเกิดโรคระบาดฉุกเฉินในพื้นที่



บทคัดย่อ

โครงการ " กรณีเกิดโรคระบาดฉุกเฉินในพื้นที่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อต่างๆ ที่เกิดขึ้นเป็นกรณีฉุกเฉิน 2.เพื่อให้การแก้ไขปัญหาเป็นไปอย่างรวดเร็ว และทันต่อสถานการณ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. รถณรงค์ ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาไขเลือดออก

    วันที่ 20 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงพื้นที่รณรงค์และป้องกันปัญหาไข้เลือดออกในพื้นที่ ม.4  ต.ท่าโพธิ์ 

     

    120 120

    2. รถณรงค์ ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาไขเลือดออก ครั้งที่ 1-2

    วันที่ 20 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดซื้อน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับผสมน้ำยาเคมีและใส่เครื่องพ่นหมอกควัน สำหรับการดำเนินงานกิจกรรมรณรงค์ ควบคุม ป้องกันและแก้ไปัญหาไข้เลือดออก ในพื้นที่ ม.4 ครั้งที่ 1 และ 2

     

    120 120

    3. รถณรงค์ ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาไขเลือดออก ครั้งที่ 2

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกในพื้นที่ ม.4 ต.ท่าโพธิ์ ครั้งที่ 2

     

    120 100

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กิจกรรมป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม                        4,800  บาท ค่าน้ำมันเบนซิน/ดีเซล                        9,076  บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อต่างๆ ที่เกิดขึ้นเป็นกรณีฉุกเฉิน 2.เพื่อให้การแก้ไขปัญหาเป็นไปอย่างรวดเร็ว และทันต่อสถานการณ์
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อต่างๆ ที่เกิดขึ้นเป็นกรณีฉุกเฉิน 2.เพื่อให้การแก้ไขปัญหาเป็นไปอย่างรวดเร็ว และทันต่อสถานการณ์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ กรณีเกิดโรคระบาดฉุกเฉินในพื้นที่

    ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    -เกิดความรู้ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณที่อยู่อาศัย ไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย - เกิดความตระหนักรู้และใส่ใจต่อผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นทั้งกับตนเอง และบุคคลในครอบครัวหากไม่ดำเนินการป้องกันก่อนเกิดโรค -มีการชื่นชมและให้กำลังใจในการร่วมกันทำงานเพื่อส่วนรวม - เกิดการร่วมมือกันในการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อที่จะเป็นผลให้การเกิดโรคลดลง รวมถึงลดปัจจัยเสี่ยงที่อาจทำให้เกิดการระบาดของโรคอีกในปีถัดไป

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    มีการอบรมให้ความรู้ร่วมกับจัดกิจกรรมเดินรณรงค์เพื่อปรับปรุงสิงแวดล้อมในชุมชนและบริเวณบ้านเรือน ร่วมกับมีการประเมินเพื่อยกย่องให้เป็นชุมชนหรือบ้านเรือนตัวอย่างด้านการมีสิ่งแวดล้อมที่สะอาด

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    เป็นตัวอย่างให้มีกลุ่มองค์กรใหม่ๆเกิดขึ้น ที่จะเข้ามาขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯเพื่อดำเนินกิจกรรมในด้านการป้องกันโรค

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    มีการให้ความสำคัญต่อการป้องกันโรคมากขึ้น มองเห็นถึงความสำคัญในการดูแลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เอื้อต่อการเกิดการระบาดของโรค มีการส่งต่อความรู้และวิธีการป้องกันโรคให้ชุมชน และบุคคลในครอบครัว

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    มีการนำพืชสมุนไพรในท้องถิ่น มาใช้ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    การจัดการตนเอง - มีการให้ความสำคัญต่อการตรวจวิเคราะห์โรคแจ่เนิ่นๆเมื่อเกิดอาการเจ็บป่วย เพื่อทราบสาเหตุและเเนวทางในการรักษา -มีการแยกที่อยู่อาศัยเป็นสัดส่วนไม่อยู่ร่วมกับผู้อื่นเพื่อป้องกันตนเองไม่ให้เป็นพาหะนำโรค การจัดการครอบครัว - เมื่อมีบุคคลในครอบครัวเจ็บป่วยจะนำไปพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อรับการรักษาอย่างถูกต้องและตรงจุด - เข้าใจและเห็นใจว่าเมื่อคนในครอบครัวเจ็บป่วย สภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยจะไม่อยู่ในภาวะปกติที่จะดำเนินชีวิตเช่นคนปกติได้ การจัดการชุมชน - มีกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้ในการป้องกันไข้เลือดออกในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ -มีกิจกรรมกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายทั้งในบ้านเรือนและพื้นที่สาธารณะ -มีการดำเนินชีวิตโดยให้ความตระหนักและให้ความสำคัญต่อการป้องกันโรค - มีการทิ้งขยะในพื้นที่สาธารณะลดลง และมีการคัดแยกขยะมารีไซเคิล และแยกขายเพื่อสร้างรายได้เสริม -อัตราผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง -มีการส่งต่อข้อมูลการเกิดโรค และให้ความรู้แก่ประชาชนทางหอกระจายข่าวหมู่บ้าน รวมถึงทาง Application Line และ FB

    ข้อมูลสุขภาพจากหน่วยบริการในพื้นที่

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
    • มีการจัดกิจกรรมเดินเก็บขยะในชุมชน อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
    • มีการสร้างสิ่งแวดล้อมเพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

    ภาพถ่ายกิจจกรรม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    -เกิดความปลอดภัยจากการเกิดโรคระบาดในพื้นที่จากการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค และนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน -เกิดสภาพแวดล้อมที่ดี ไม่เป็นแหล่งกำเนิดโรคที่อาจส่งผลกระทบต่อเด็ก และเยาวชน -มีพื้นที่สาธารณะที่ปลอดภัยไม่เป็นแหล่งที่เกิดการระบาดหรือส่งเสริมให้เกิดโรค

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    มีการคัดแยกขยะ นำขยะรีไซเคิลไปขายเพื่อสร้างรายได้เสริม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

    -มี อสม. ประจำหมู่บ้าน ที่เป็นทางเลือกให้กับประชาชนในการขอรับคำปรึกษาและตรวจสุขภาพเบื้องต้น

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
    • ข้อบัญญัติของ อปท. ด้านการกำจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย
    • ข้อบัญญัติของ อปท. ด้านการควบคุมการเลี้ยงและปล่อยสัตว์

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    -ประชาชนในพื้นที่มีการเฝ้าระวัง และมีการประสานงานเกี่ยวกับข้อมูลในการป้องกันและการเกิดโรคระบาดระหว่างพื้นที่

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    -มีการนำปัญหามาวิเคราะห์และกำหนดประเด็นปัญหาร่วมกัน เพื่อกำหนดกิจกรรมและวางแผนการแก้ไขปัญหาเป็นรายกิจกรรม -มีการจัดกิจกรรมตามวันเวลาที่กำหนดไว้ -มีการประสานงานกับผู้นำชุมชนในการรับทราบผลตอบรับจากการทำกิจกรรมร่วมกัน - มีการประเมินผลสัมฤทธิ์ด้านปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดโรค และอัตราผู้ป่วย

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
    • มีการใช้ทุนส่วนกลางของหมู่บ้านมาสันบสนุนเพิ่มเติมในการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรค -มีการใช้องค์ความรู้จากผู้รู้ในชุมชนมาแก้ไขปัญหาสุขภาพและป้องกันรค

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    มีการส่งเสริมให้เกิดการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
    • มีการนำข้อมูลสุขภาพ สถานการณ์ปัญหาในชุมชนมาจัดทำแผนงานและโครงการ
    • มีการวิเคราะห์สภาพปัญหาและการเกิดโรคในแต่ละพื้นที่ เพื่อวางแผนปฏิบัติการและลงพื้นที่ดำเนินงาน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    -เกิดความภูมิใจที่ตนเองสามารถเป็นส่วนหนึ่งในการรณรงค์ให้ประชาชนเกิดความรู้และป้องกันโรคได้ด้วยตนเอง -เกิดความภูมิใจในองค์กรที่ให้ความสำคัญและสนับสนุนงบประมาณในการป้องกันโรค - เกิดความภูมิใจที่ชุมชนให้ความสำคัญ และร่วมมือกันป้องกันโรค

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    ประชาชนให้ความสำคัญและร่วมมือกันเพื่อทำประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    ประชาชนเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน ร่วมมือกันทำกิจกรรมต่างๆจนประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    มีการใช้ฐานข้อมูลจากหน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่เพื่อวิเคราะห์ปัญหา และหาแนวทางในการแก้ปัญหาด้านสุขภาพ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    กรณีเกิดโรคระบาดฉุกเฉินในพื้นที่ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( กรรมการกองทุนฯ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด