กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารคีรี


“ โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม ”

ตำบลธารคีรี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอรทัย ล้อชุติกุล

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม

ที่อยู่ ตำบลธารคีรี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-l5257-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลธารคีรี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารคีรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลธารคีรี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-l5257-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารคีรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งปากมดลูก เป็นโรรคมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับที่สองของโรคมะเร็งทั้งหมดของสตรีไทย รองจากโรคมะเร็งเต้านม จากสสถานการณ์โรคมะเร็ง จ.สงขลา ปี 2553 – 2556 พบอัตราผู้ป่วยต่อแสนประชากร เท่ากับ 28.51, 26.31,40.07 และ 30.61 ตามลำดับ ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมาพบแพทย์ระยะหลัง ๆ ซึ่งจะมีอาการลุกลามและแพร่กระจายไปแล้ว คือ ประมาณร้อยละ 56 และปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุของมะเร็งที่แน่ชัด แต่พบว่ามีปัจจัยเสี่ยงด้านมีญาติพี่น้องสายตรงเป็นมะเร็ง (เช่น พ่อ แม่ ป้า น้า เป็นต้น) ขาดการออกกำลังกายสม่ำเสมอ รับประทานอาหารไขมันสูง การสูบบุหรี่ และมักพบ ในสตรีอายุ 40 ปี ขึ้นไป ทั้งนี้การคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและพบความผิดปกติของเซลล์มะเร็งตั้งแต่ระยะเริ่มต้น สามารถทำการวินิจฉัยและรักษาโรคได้อย่างทันท่วงที ทำให้โรคไม่แพร่กระจายไปสู่อวัยวะที่สำคัญอื่นๆในร่างกาย ช่วยให้การรักษามีโอกาสประสบความสำเร็จได้สูง และช่วยลดอัตราการเสียชีวิตของสตรีไทยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกได้ จากปัญหาข้างต้น ทีมสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตาฆอ ตำบลธารคีรี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลาร่วมกับเครือข่ายชุมชนจัดทำโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ประจำปีงบประมาณ 2560 แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายในเขตพื้นที่รับผิดชอบ หมู่ที่ 1 - หมู่ที่ 5 เพื่อให้สตรีอายุ 30 60 ปี ที่ตรวจพบเป็นมะเร็งปากมดลูกได้รับการรักษาและติดตามเยี่ยมทุกราย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อกระตุ้นและสร้างกระแสในการรณรงค์การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในสตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30 – 60 ปี ให้ได้ ร้อยละ 80 (ผลงานสะสม พ.ศ. 2558 – 2562)
  2. 2. เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 60ปี มีความรู้สามารถดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้อย่างถูกต้อง
  3. 3. เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ตรวจพบเป็นมะเร็งปากมดลูกได้รับการรักษาและติดตามเยี่ยมทุกราย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 314
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูก 2.สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน สามารถจัดการสุขภาพตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสม ๓.สตรีที่ตรวจพบเป็นมะเร็งปากมดลูกได้รับการรักษาและติดตามเยี่ยมทุกราย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อกระตุ้นและสร้างกระแสในการรณรงค์การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในสตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30 – 60 ปี ให้ได้ ร้อยละ 80 (ผลงานสะสม พ.ศ. 2558 – 2562)
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 60ปี มีความรู้สามารถดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ตรวจพบเป็นมะเร็งปากมดลูกได้รับการรักษาและติดตามเยี่ยมทุกราย
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 314
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 314
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อกระตุ้นและสร้างกระแสในการรณรงค์การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในสตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30 – 60 ปี ให้ได้ ร้อยละ 80 (ผลงานสะสม พ.ศ. 2558 – 2562) (2) 2. เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 60ปี มีความรู้สามารถดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้อย่างถูกต้อง (3) 3. เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ตรวจพบเป็นมะเร็งปากมดลูกได้รับการรักษาและติดตามเยี่ยมทุกราย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-l5257-01-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอรทัย ล้อชุติกุล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด