กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาข้าวเสีย


“ โครงการร้านขายของชำปลอดภัยใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค ”

ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวศิรินธร เอียดจุรี

ชื่อโครงการ โครงการร้านขายของชำปลอดภัยใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค

ที่อยู่ ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1475-01-34 เลขที่ข้อตกลง 37/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 มิถุนายน 2564 ถึง 18 มีนาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร้านขายของชำปลอดภัยใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาข้าวเสีย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร้านขายของชำปลอดภัยใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร้านขายของชำปลอดภัยใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L1475-01-34 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 มิถุนายน 2564 - 18 มีนาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,832.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาข้าวเสีย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อสุขภาพของประชาชน และอาหารปลอดภัยที่ประชาชนบริโภคนั้น ต้องปราศจากเชื้อโรค หรือปนเปื้อนจากเชื้อโรคทางเดินอาหารและสารเคมี ดังนั้นเพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย จึงต้องมีระบบการกำกับดูแล ควบคุม ตรวจสอบ คุณภาพ และการสื่อสารข้อมูลข่าวสาร ให้ความรู้แก่ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องในระบบความปลอดภัยของอาหารที่ผลิต/จำหน่าย ทุกขั้นตอนตลอดห่วงโซ่อาหาร (Food Chain) ตั้งแต่วัตถุดิบ (การเพาะปลูก เพาะเลี้ยง) การผลิต การแปรรูป การจัดจำหน่าย จนถึงผู้บริโภคอาหาร From Farm to Table ซึ่งปัจจัยความสำเร็จของการสร้างอาหารปลอดภัย คือ ทัศนคติ และความตระหนักในการเลือกบริโภค และผลิต/จำหน่าย อาหารที่ปลอดภัย มีคุณค่า และจากการที่กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดนโยบายโครงการอาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กไทยได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน ปลอดภัยจากแบคทีเรีย สารเคมี และสารพิษปนเปื้อน และบริโภคในปริมาณที่เหมาะสมซึ่งจะส่งผลต่อพัฒนาการทางร่างกาย สมอง สติปัญญา และอารมณ์ ตามวัย           เพื่อให้การดำเนินงานตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข “โครงการอาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด ประสบความสำเร็จ จำเป็นต้องดำเนินการในทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น ร้านขายของชำที่จำหน่ายอาหารสด แผงลอย ต้องปลอดภัยจากสารปนเปื้อนทั้ง 6 ชนิด (บอแรกซ์ ,ฟอร์มาลิน , ซาลิซาริก , โซเดียมไฮโดรซัลไฟด์ ,ยาฆ่าแมลง และน้ำมันทอดซ้ำ ) ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากแกนนำอย.หมู่บ้าน และอย.น้อยในโรงเรียนต่างๆ มาร่วมกันตรวจสอบ เฝ้าระวังทั้งอาหารสด และอาหารสำเร็จรูป ทั้งในร้านค้าจำหน่ายอาหารสด แผงลอย ตลอดจนร้านค้าในโรงเรียน ให้ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน และเป็นอาหารที่ปลอดภัยและมีคุณค่าสำหรับการบริโภค           ดังนั้น เพื่อให้เกิดการเฝ้าระวังการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์อาหาร อย่างครอบคลุม ตลอดจนส่งเสริมนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข”อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมาบบอน จึงได้จัดทำโครงการร้านขายของชำปลอดภัยใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค ขึ้น เพื่อการเฝ้าระวังและตรวจสอบความปลอดภัยด้านอาหารใน ร้านขายของชำที่จำหน่ายอาหารสด และแผงลอย และสร้างเครือข่ายในการเฝ้าระวังเชิงรุกในพื้นที่ ทั้งในระดับหมู่บ้าน ชุมชน และโรงเรียนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2.1 เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยจากการบริโภคอาหาร (อาหารปลอดภัย มีคุณค่า) 2.2 เพื่อพัฒนาเครือข่ายการเฝ้าระวังเชิงรุกในพื้นที่ ทั้งในระดับหมู่บ้าน ชุมชนและโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 75
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    สามารถเฝ้าระวังและตรวจสอบความปลอดภัยด้านอาหารใน ร้านขายของชำที่หน่ายอาหารสด และแผงลอยให้มีมาตรฐานเพื่อให้ผู้บริโภคสามารถเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์อาหารที่ปลอดภัยและมีคุณค่า ตลอดจนสร้างเครือข่ายในการเฝ้าระวังเชิงรุกในพื้นที่ ทั้งในระดับหมู่บ้าน ชุมชน และโรงเรียนต่อไป


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 2.1 เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยจากการบริโภคอาหาร (อาหารปลอดภัย มีคุณค่า) 2.2 เพื่อพัฒนาเครือข่ายการเฝ้าระวังเชิงรุกในพื้นที่ ทั้งในระดับหมู่บ้าน ชุมชนและโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 95 ของแผงลอย,ร้านขายของชำที่จำหน่ายอาหารสดปลอดภัยจากสารปนเปื้อนทั้ง 5 ชนิด ชนิด (บอแรกซ์ ,ฟอร์มาลิน , ซาลิซาริก , โซเดียมไฮโดรซัลไฟด์ ,ยาฆ่าแมลง ) -ร้อยละ 90 ของอาหารปลอดภัยจากการปนเปื้อนน้ำมันทอดซ้ำ 3. กลุ่มเป้าหมาย 3.1 ผู้ประกอบการร้านขายของชำที่จำหน่ายอาหารสด (หมู่ 5,6,7,8และ9 ตำบลนาข้าวเสีย) รวมจำนวน 40 ร้าน จำนวน 40 คน (รุ่นที่ 1) 3.2 แกนนำผู้บริโภค หมู่ละ 7 คน จำนวน 5 หมู่บ้าน รวมจำนวน 35 คน (รุ่นที่ 2) รวมเป้าหมายจำนวน 75 คน
    75.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 75
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยจากการบริโภคอาหาร (อาหารปลอดภัย มีคุณค่า)                    2.2 เพื่อพัฒนาเครือข่ายการเฝ้าระวังเชิงรุกในพื้นที่ ทั้งในระดับหมู่บ้าน ชุมชนและโรงเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการร้านขายของชำปลอดภัยใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 64-L1475-01-34

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวศิรินธร เอียดจุรี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด