กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกตรี


“ โครงการลดยาเสพติด ชีวิตปลอดภัย หมดทุกข์ ปลอดโรค ”

จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายกรียา อาดำ

ชื่อโครงการ โครงการลดยาเสพติด ชีวิตปลอดภัย หมดทุกข์ ปลอดโรค

ที่อยู่ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 9/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดยาเสพติด ชีวิตปลอดภัย หมดทุกข์ ปลอดโรค จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกตรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดยาเสพติด ชีวิตปลอดภัย หมดทุกข์ ปลอดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดยาเสพติด ชีวิตปลอดภัย หมดทุกข์ ปลอดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกตรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 250 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันการแพร่ระบาดของยาเสพติดยังคงความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขยาเสพติด เป็นแนวนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยยึดหลัก "ผู้เสพ คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ค้า คือผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม" โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมให้ร่วมดำเนินการในลักษณะบูรณาการ ควบคู่กับมาตรการทางกฎหมาย
ผู้ที่ติดยาเสพติด อาจเกิดปัญหาทางสุขภาพ อนามัย หรือโรคต่างๆได้หลายอย่าง เช่นหากใช้ยาที่มีฤทธิ์กดระบบประสาทกลาง เมื่อใช้เกินขนาดจะทำให้ไม่รู้สึกตัวไป การหายใจลดลง ในบางรายอาจเกิดการบวมของปอด ทำให้หายใจหอบและเสมหะเป็นฟองหากเกิดจากการขาดยา ทำให้นอนหลับยาวนาน อาจไข้สูง ชัก และไม่รู้สึกตัวได้นอกจากนี้พิษจากยาเสพติด มีผลทำให้เกิดอาการทางจิตได้ บางรายอาจคลุ้มคลั่ง วิกลจริต ระแวงอย่างรุนแรง คิดว่าผู้อื่นจะมาทำร้ายจึงอาละวาด และทำร้ายผู้อื่นได้ผู้ติดยาที่ใช้ยาฉีดเข้าหลอดเลือด หรือเข้ากล้ามเนื้อ มักไม่ได้ทำความสะอาดหลอดฉีดยาให้ปราศจากเชื้อเสียก่อน น้ำที่ใช้ละลายยาเพื่อฉีดก็ไม่สะอาด จึงอาจฉีดเอาเชื้อโรคต่างๆ เข้าไปในร่างกายได้ ทำให้เกิดการอักเสบของผิวหนัง และเนื้อเยื่อบริเวณที่ฉีด เกิดเป็นฝีหรือเนื้อตายได้ อาจลุกลามเกิดการอักเสบของหลอดเลือด หรือโลหิตเป็นพิษได้ ในบางรายเชื้อโรคอาจเข้าไปยังอวัยวะภายใน เช่น หัวใจ ปอด สมอง และกระดูก ทำให้เกิดลิ้นหัวใจอักเสบ และฝีตามอวัยวะต่างๆบางรายใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน ทำให้โรคจากคนหนึ่งติดไปยังคนอื่นๆได้ เช่น โรคตับอักเสบ โรคเอดส์ เป็นต้น ในบางกรณียาอาจจะละลายไม่ดี มีเกล็ดหรือ ผลึกของยาเข้าไปในหลอดเลือด ไปอุดหลอดเลือดต่างๆ เช่น ที่สมอง เกิดเป็นอัมพาตได้ ผู้ติดยาเสพติดมักมีสุขภาพไม่ดี อาหารไม่เพียงพอ และการดูแลสุขภาพอนามัย ตลอดจนการรักษาความสะอาดของร่างกายไม่ดี จึงมีโรคต่างๆเกิดได้มาก เช่น วัณโรคของปอด โรคผิวหนังต่างๆโรคไตอักเสบ และโรคเส้นประสาทอักเสบ เป็นต้น ชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านตำบลเกตรีได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการลดยาเสพติดชีวิตปลอดภัยหมดทุกข์ปลอดโรคขึ้นเพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลเสียของยาเสพติดที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของตนเอง ครอบครัว และชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดที่มีต่อสุขภาพ
  2. เพื่อให้ประชาชนลดความเสี่ยงจากโรคที่เกิดจากการใช้สารเสพติด
  3. เพื่อสร้างเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การอบรมให้ความรู้ลดยาเสพติด ชีวิตปลอดภัย หมดทุกข์ ปลอดโรค
  2. การลงพื้นที่เสาวนา ณ มัสยิดประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 1-7
  3. การสรุป วิเคราะห์ แก้ไขปัญหา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงผลกระทบของยาเสพติดที่มีต่อสุขภาพ
  2. ประชาชนมีสุขภาพดี ไม่มีปัญหาสุขภาพที่เกิดจากยาเสพติด
  3. ตำบลเกตรีมีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดที่มีต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงผลกระทบของยาเสพติดที่มีต่อสุขภาพ
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนลดความเสี่ยงจากโรคที่เกิดจากการใช้สารเสพติด
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีสุขภาพดี ไม่มีปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการใช้สารเสพติด
0.00

 

3 เพื่อสร้างเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด : ตำบลเกตรีมีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 450
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดที่มีต่อสุขภาพ (2) เพื่อให้ประชาชนลดความเสี่ยงจากโรคที่เกิดจากการใช้สารเสพติด (3) เพื่อสร้างเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การอบรมให้ความรู้ลดยาเสพติด ชีวิตปลอดภัย หมดทุกข์ ปลอดโรค (2) การลงพื้นที่เสาวนา ณ มัสยิดประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 1-7 (3) การสรุป  วิเคราะห์  แก้ไขปัญหา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดยาเสพติด ชีวิตปลอดภัย หมดทุกข์ ปลอดโรค จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายกรียา อาดำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด