กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชุมชนสะอาด ชาวแก้วสว่างสุขใจ ปราศจากโรคภัย สิ่งแวดล้อมสบายตา ”
ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
กรรมการชุมชนแก้วสว่าง โดย นายภานุศักดิ์ จันทร์ศิริ ประธานชุมชนแก้วสว่าง




ชื่อโครงการ โครงการชุมชนสะอาด ชาวแก้วสว่างสุขใจ ปราศจากโรคภัย สิ่งแวดล้อมสบายตา

ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-l7255-02-07 เลขที่ข้อตกลง 9/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนสะอาด ชาวแก้วสว่างสุขใจ ปราศจากโรคภัย สิ่งแวดล้อมสบายตา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนสะอาด ชาวแก้วสว่างสุขใจ ปราศจากโรคภัย สิ่งแวดล้อมสบายตา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนสะอาด ชาวแก้วสว่างสุขใจ ปราศจากโรคภัย สิ่งแวดล้อมสบายตา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-l7255-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,970.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหาการกำจัดขยะที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นตลอดเวลา และยังไม่สามารถหาทางออกที่ดีได้ แม้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะพยายามหาวิธีการกำจัด และของเสียอันตรายจากบ้านเรือนเป็นปัญหาสำคัญ ครัวเรือนเป็นแหล่งกำเนิด ของของเสีย อันตรายจากชุมชนประมาณ ๑ ใน ๔ ของทั้งหมด ซึ่งจากปัญหาขยะดังกล่าวส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพมากขึ้นเช่นกัน โรคภัยที่เกิดจากขยะมูลฝอยได้แก่ โรคระบบทางเดินอาหารโรคจากสัตว์แมลงนำโรค เช่น ไข้เลือดออก โรคจากการติดเชื้อ โรคภูมิแพ้ โรคปวดศีรษะคลื่นไส้และอาเจียนที่เกิดจากกลิ่นเน่า โรคมะเร็งเนื่องจากได้รับสารพิษต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน และผลกระทบต่อระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย ซึ่งปัจจุบันในชุมชนแก้วสว่าง มีปริมาณขยะจากครัวเรือนเพิ่มมากขึ้น โดยมาจากการดำรงชีวิตของคนในชุมชน จะเห็นได้จากขยะมูลฝอยตามหมู่บ้าน มีอัตราเพิ่มขึ้น ซึ่งขยะบางชนิดไม่ย่อยสลาย และกำจัดได้ยาก เช่น กล่องโฟม ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก ,ขยะอันตราย เช่นขยะอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ และขยะเปียกซึ่งก่อให้เกิดมลภาวะ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่าง ๆ ตลอดจนเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพของคนในชุมชนประกอบกับในปี ๒๕๖๐ ตำบลคลองแหเป็นพื้นที่ที่มีอุบัติการณ์ของโรคไข้เลือดออกสูงเป็นลำดับต้นๆของจังหวัดสงขลา ดังนั้นเพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก หรือโรคที่เกิดจากขยะมูลฝอยของประชาชนในพื้นที่ จึงต้องมีการจัดการแหล่งขยะให้ถูกสุขลักษณะเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความปลอดภัย และการป้องกันโรคโดยการสร้างความเข้าใจ ความตระหนักของประชาชนภายใต้ความร่วมมือของชุมชนในการคัดแยก และกำจัดขยะอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันโรคภัยที่จะเกิดจากขยะได้

ชุมชนแก้วสว่าง จึงมีความประสงค์จัดทำโครงการชุมชนสะอาด ชาวแก้วสว่างสุขใจ ปราศจากโรคภัย สิ่งแวดล้อมสบายตา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกโรคอุจจาระร่วงพร้อมทั้งให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการคัดแยกขยะประเภทต่างๆ ปัญหาที่เกิดจากการสะสมขยะ แนวทางการแก้ไขปัญหาด้านขยะเพื่อลดปริมาณขยะจากต้นทาง ส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่ดี เป็นระเบียบของชุมชน ทั้งยังสามารถป้องกันการเป็นแหล่งของพาหะเชื้อโรคต่างๆในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ
  4. เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค
  5. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการคัดแยกขยะในชุมชน
  2. ประชุมวางแผนทำงานในการดำเนินกิจกรรม
  3. อบรมให้ความรู้เรื่องขยะ ปลอดโรค บ้านเรือนสะอาด ผู้อยู่อาศัยสุขภาพดี
  4. ประชุมคณะทำงานติดตาม ประเมินผล เดือนละครั้ง เป็นเวลา 3 เดือน
  5. ประชุมสรุปการดำเนินโครงการและคืนข้อมูลให้ชุมชน
  6. ครัวเรือนต้นแบบปราศจากแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชนลดลง

2.ชุมชนรู้ประเภทของขยะ และสามารถแยกประเภทขยะได้

3.อัตราการเกิดโรคอุจจาระร่วงในชุมชนลดลง

4.ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ เอื้ออำนวยต่อการดำรงชีวิตและปราศจากโรค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)
215.00 150.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
189.00 250.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
35.00 80.00

 

4 เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภคลดลง
35.20 28.21

 

5 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาดลดลง
58.23 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ (3) เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ (4) เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค (5) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการคัดแยกขยะในชุมชน (2) ประชุมวางแผนทำงานในการดำเนินกิจกรรม (3) อบรมให้ความรู้เรื่องขยะ ปลอดโรค บ้านเรือนสะอาด ผู้อยู่อาศัยสุขภาพดี (4) ประชุมคณะทำงานติดตาม ประเมินผล เดือนละครั้ง เป็นเวลา 3 เดือน (5) ประชุมสรุปการดำเนินโครงการและคืนข้อมูลให้ชุมชน (6) ครัวเรือนต้นแบบปราศจากแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนสะอาด ชาวแก้วสว่างสุขใจ ปราศจากโรคภัย สิ่งแวดล้อมสบายตา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-l7255-02-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กรรมการชุมชนแก้วสว่าง โดย นายภานุศักดิ์ จันทร์ศิริ ประธานชุมชนแก้วสว่าง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด