กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี


“ โครงการ stop teen mom และ เอดส์ set zero ”

ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายจิตติณัฎซ์ สุวรรณรัตน์

ชื่อโครงการ โครงการ stop teen mom และ เอดส์ set zero

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 สิงหาคม 2560 ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ stop teen mom และ เอดส์ set zero จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ stop teen mom และ เอดส์ set zero



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ stop teen mom และ เอดส์ set zero " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 สิงหาคม 2560 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมไทยในปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงการดำรงชีวิตในสังคมจากครอบครัวขยาย กลายเป็นครอบครัวเดี่ยว อีกทั้งสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป ทำให้พ่อแม่ต้องประกอบอาชีพนอกบ้าน ส่งผลให้สภาพครอบครัวขาดความอบอุ่น เยาวชนในครอบครัวขาดการดูแลและชี้แนะในสิ่งที่เหมาะสม ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในยุคโลกาภิวัตน์ และวัฒนธรรมข้ามชาติ ทำให้เยาวชนถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้าเช่น สื่อลามกในโลกอินเตอร์เน็ตสิ่งเหล่านี้มีผลทำให้เยาวชนเกิดพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม ด้วยการขาดวุฒิภาวะและทักษะในการควบคุมอารมณ์ ทางเพศของตนเองเยาวชนจึงมีเพศสัมพันธ์ในเวลาที่ไม่เหมาะสม มีการเปลี่ยนคู่นอนบ่อย และขาดความเข้าใจเรื่องเพศศึกษา จึงส่งผลให้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อ HIV และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ปัญหาแม่วัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ นับเป็นปัญหาที่สำคัญในสังคมปัจจุบันที่ต้องได้รับการแก้ไข จากข้อมูลที่ผ่านมาของรายงานจากยูนิเชฟ (UNICEF) เมื่อปี พ.ศ.2552 พบว่า แม่วัยรุ่นอายุต่ำกว่า 20 ปี ของไทย มีจำนวนสูงถึง 150,000 คน ซึ่งเป็นอันดับ 1 ในเอเชีย และจากผลการสำรวจในครั้งนี้ก็พบว่า เยาวชนมีความรู้เรื่อง เพศศึกษาการคุมกำเนิด การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในระดับที่ต่ำมาก ซึ่งยังมีการรับรู้เรื่องเพศไม่ถูกต้อง เช่น การใช้ถุงยางอนามัย การนับระยะปลอดภัยหน้า7 หลัง7 เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์และการติดเชื้อ HIV เป็นต้น อัตราการคลอดบุตรของแม่วัยรุ่น อายุต่ำกว่า 20 ปี วันละ 336 ราย เฉลี่ยปีละ 122,640 และพบว่ามีแม่วัยรุ่นอายุน้อยลงเรื่อยๆ
เนื่องจากวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อมมีอายุน้อยลงมาก วัยรุ่นเหล่านี้จึงขาดวุฒิภาวะในการจัดการกับปัญหาชีวิตที่เกิดขึ้น วัยรุ่นบางคนไม่ทราบว่าตนเองตั้งครรภ์ ทำให้ไม่ได้ดูแลสุขภาพร่างกาย และไม่ได้รับอาหารเสริม บุตรของแม่วัยรุ่นมักประสบปัญหาสุขภาพไม่สมบูรณ์แข็งแรง น้ำหนักน้อย บางรายหาทางออก โดยวิธีการทำแท้ง ผลจากการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย อาจทำให้เด็กตกเลือด ติดเชื้อ รุนแรงจนอาจเสียชีวิตได้ บางรายก็ต้องออกจากโรงเรียน เนื่องจากอับอายส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของแม่วัยรุ่นในอนาคต นอกจากนี้เยาวชนส่วนใหญ่ไม่มีการป้องกัน เยาวชนจำนวนมากตกอยู่ในกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง ซึ่งรวมถึงผู้ติดยาเสพติดที่ใช้เข็มฉีด หญิงขายบริการทางเพศและชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย งานการศึกษาวิจัยบางฉบับชี้ว่าอัตราการติดเชื้อเอชไอวีและโรคที่ติดต่อทางเพศสัมพันธ์กำลังเพิ่มขึ้นในหมู่เยาวชนในขณะที่ลดลงในประชากรกลุ่มอื่นๆ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างเร่งด่วนในการแก้ปัญหานี้
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการ STOP TEEN MOM & HIV SET ZERO เพื่อให้ความรู้กับเยาวชน เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้เรื่องเพศศึกษา และพัฒนาการทางเพศของตนเอง รวมถึงวิธีการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยให้เยาวชนมีส่วนร่วมในการคิด มีการเรียนรู้โดยใช้กลุ่มเพื่อน เปิดโอกาสให้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ฝึกให้เยาวชนได้คิดถึงปัญหาทางเพศ การแก้ไขและการป้องกันปัญหา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้วัยรุ่นและแกนนำสตรีมีความรู้ เรื่องการควบคุม ป้องกันการติดเชื้อเอดส์และการท้องก่อนวัย
  2. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
  3. เพื่อสร้างแกนนำ เครือข่าย ในการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และการท้องก่อนวัย ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เยาวชนและแกนนำสตรีมีความรู้ เรื่องการควบคุม ป้องกันการติดเชื้อเอดส์และการท้องก่อนวัยมากขึ้น
      1. เยาวชนมีความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
      2. อัตราการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นลดลง
      3. มีแกนนำเครือข่ายในการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และการท้องก่อนวัยในชุมชน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ค่าอาหารกลางวัน

    วันที่ 19 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการดำเนินโครงการ STOP TEEN MOM & HIV SET ZERO มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 70 คน ซึ่งในการดำเนินกิจกรรมต่างๆในโครงการได้รับความร่วมมือและความสนใจจากผู้เข้าร่วมโครงการเป็นยิ่ง เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาและสาเหตุที่เกิดขึ้นในวัยรุ่น และได้มีการหาแนวทางร่วมกันในการแก้ไขปัญหาจากการจัดกิจกรรมกลุ่มแต่ละคนได้แสดงความคิดเห็นที่เป็นอิสระส่งผลให้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบากได้มีข้อมูลที่จะนำมาแก้ไขปัญหาเรื่องการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นและปัญหาเอดส์ต่อไปในอนาคต

     

    70 70

    2. อาหารว่าง

    วันที่ 19 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการดำเนินโครงการ STOP TEEN MOM & HIV SET ZERO มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 70 คน ได้รับประทานอาหารว่าง

     

    70 70

    3. ค่าวัสดุสำหรับหการจัดอบรม

    วันที่ 19 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการดำเนินโครงการ STOP TEEN MOM & HIV SET ZERO กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 70 คน ได้อุแกรณ์เพื่อใช้ในการอบรม

     

    70 70

    4. ค่าเอกสารในการอบรม

    วันที่ 19 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการดำเนินโครงการ STOP TEEN MOM & HIV SET ZERO กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 70 คน ได้เอกสารเพื่อใช้ในการอบรม

     

    70 70

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    จากการดำเนินโครงการ STOP TEEN MOM & HIV SET ZERO มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 70 คน ซึ่งในการดำเนินกิจกรรมต่างๆในโครงการได้รับความร่วมมือและความสนใจจากผู้เข้าร่วมโครงการเป็นยิ่ง เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาและสาเหตุที่เกิดขึ้นในวัยรุ่น และได้มีการหาแนวทางร่วมกันในการแก้ไขปัญหาจากการจัดกิจกรรมกลุ่มแต่ละคนได้แสดงความคิดเห็นที่เป็นอิสระส่งผลให้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบากได้มีข้อมูลที่จะนำมาแก้ไขปัญหาเรื่องการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นและปัญหาเอดส์ต่อไปในอนาคต

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้วัยรุ่นและแกนนำสตรีมีความรู้ เรื่องการควบคุม ป้องกันการติดเชื้อเอดส์และการท้องก่อนวัย
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 80

     

    2 เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีสามารถทำกิจกรรมกลุ่มและตอบคำถามกิจกรรมกลุ่มได้ถูกต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

     

    3 เพื่อสร้างแกนนำ เครือข่าย ในการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และการท้องก่อนวัย ในชุมชน
    ตัวชี้วัด : มีแกนนำและเครือข่ายในการดำเนินงานเอดส์ในชุมชนครบทุกหมู่บ้าน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้วัยรุ่นและแกนนำสตรีมีความรู้ เรื่องการควบคุม ป้องกันการติดเชื้อเอดส์และการท้องก่อนวัย (2) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ (3) เพื่อสร้างแกนนำ เครือข่าย ในการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และการท้องก่อนวัย ในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ stop teen mom และ เอดส์ set zero จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายจิตติณัฎซ์ สุวรรณรัตน์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด