กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอาหารปลอดภัย รพ.สต.บ้านจันนา ปี 2564
รหัสโครงการ 64-L3317-2-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม. ตำบลดอนทราย
วันที่อนุมัติ 1 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 14,650.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวทรงรัตน์ เมืองแก้ว
พี่เลี้ยงโครงการ นางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.716,99.975place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันประชาชนหันมาสนใจกับสุขภาพมากขึ้น ผลิตภัณฑ์สุขภาพกลายเป็นปัจจัยอย่างหนึ่งในการดำเนินชีวิต ร้านขายของชำในหมู่บ้าน ถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจายสินค้าและผลิตภัณฑ์สุขภาพประเภทต่างๆ ให้แก่ผู้บริโภคในชุมชนซึ่งง่ายและสะดวกในการจับจ่ายใช้สอยและบริโภคสินค้า ไม่ว่าจะเป็นอาหาร ยาหรือเครื่องสำอางตลอดจนผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆ แต่สถานการณ์ปัจจุบันพบว่ามีการจำหน่ายสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐานในร้านชำ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจันนา ตำบลดอนทราย อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง มีร้านชำ 19 ร้าน มีร้านแผงลอย 3 ร้าน และผู้ประกอบการและผู้บริโภคในพื้นที่ยังมีความเชื่อที่ผิดๆ ขาดทักษะ และความรู้ที่ถูกต้องและมีพฤติกรรมการเลือกซื้ออาหารและการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานก็อาจจะตกเป็นเหยื่อและได้รับอันตรายจากการอุปโภคและบริโภคผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐานได้ง่ายและจากข้อมูลในปีที่ผ่านมา ร้านชำในเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจันนาบางร้านยังไม่ผ่านมาตรฐานการประเมินร้านชำคุณภาพเพื่อเป็นการคงสภาพร้านที่ผ่านและปรับปรุงร้านที่ยังไม่ผ่านการประเมินได้มีการพัฒนาเพื่อผ่านร้านชำคุณภาพร้อยเปอร์เซ็นต์ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจันนา จึงได้จัดทำโครงการร้านชำคุณภาพขึ้นเพื่อประโยชน์กับประชาชน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อต้องการให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องอาหารปลอดภัย

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 80

0.00
2 เพื่อต้องการให้ร้านชำผ่านการประเมินร้านชำคุณภาพ

ร้านชำผ่านการประเมินร้อยละ 100

0.00
3 เพื่อต้องการให้ร้านแผงลอยผ่านเกณฑ์มาตรฐานตัวชี้วัด

ร้านแผงลอยผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดร้อยละ 100

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 108 11,103.55 0 0.00
2 เม.ย. 64 กิจกรรมที่ 1 การจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการอาหารปลอดภัย 0 500.00 -
7 พ.ค. 64 กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมให้ความรุ้ 50 10,600.00 -
10 มิ.ย. 64 กิจกรรมที่ 3 การประเมินร้านชำ 50 0.00 -
24 มิ.ย. 64 กิจกรรมที่ 4 สุ่มตรวจร้านอาหาร/แผงลอย/ร้านชำจำหน่ายอาหารสด 8 3.55 -
  1. จัเทำโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ
  2. ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
  3. เชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
  4. จัดอบรมให้ความรู้กับอาสาสมัครสาธารณสุข/ผู้ประกอบการ/ผู้ประกอบร้านชำ/แผงลอย
  5. จัดทำแผนออกตรวจประเมินร้านชำ/ร้านแผงลอย
  6. จัดทำแผนสุ่มตรวจร้านชำที่ขายอาหารสด/ร้านแผฝลอย
  7. สุ่มตรวจสารปนเปื้อนร้านชำที่ขายอาหารสด
  8. สุ่มตรวจสารหาเชื้อแบคทีเรียในร้านและผู้ประกอบการแผงลอย
  9. สรุปผลการดำเนินโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนได้อุปโภคและบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและมีมาตรฐาน
  2. ร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำคุณภาพ
  3. ร้านแผงลอยผ่านเกณฑ์อาหารสะอาด รดชาติอร่อย
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 มี.ค. 2564 10:17 น.