กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการแรงงานนอกระบบ 64
รหัสโครงการ L4145/24
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.
วันที่อนุมัติ 9 พฤศจิกายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 มีนาคม 2564 - 15 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 10,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางรอฮานา ลือมาแต
พี่เลี้ยงโครงการ รพ.สต.ปาแดรู
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.502,101.063place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานแรงงานนอกระบบ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตำบลกาตองมีจำนวนประชากรจำนวน 8,800 คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร ทำสวนยางเป็นส่วนมาก ซึ่งผู้ที่ประกอบอาชีพกลุ่มย่อยจากสถานการอาชีพ ทำให้มีผลกระทบต่อร่างกาย เช่น ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย และอาการอื่นๆอีก ชาวเกษตรกรเหล่านี้ได้ใช้ยาแก้ปวด หรือยาตามอาการต่างๆ ของร่างกาย เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วยจากการประกอบอาชีพ กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข เล็งเห็นความสำคัญของชาวเกษตรแรงงานนอกระบบในพื้นที่  จึงได้จัดทำโครงการ การจัดการแรงงานนอกระบบขึ้น และขอสนับสนุนเงินโครงการจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลกาตอง  จำนวนเงิน 15,000  บาท

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ 2.เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ 3.เพื่อเพิ่มจำนวนมาตราการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน 4.เพื่อลดแรงงานนอกระบบที่มีการตกค้างของสารเคมีในเลือด 5เพื่อเพิ่มศูนย์เรียนรู้ด้านเกษตรกรปลอดสารเคมีหรืออินทรีย์ เกษตรต้นแบบ 6.เพื่อลดภาวะเครียดวิตกกังวลในผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง

จำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ เพิ่มขึ้น(คน

ร้อยละของแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ ลดลง มีจำนวนมาตราการในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน เพิ่มขึ้น

ร้อยละของแรงงานนอกระบบที่ตรวจพบสารเคมีในเลือดลดลง จำนวนศูนย์เรียนรู้ด้านเกษตรกรปลอดสารเคมีหรืออินทรีย์ เกษตรต้นแบบ(แห่ง)

ร้อยละของผู้ประกอบอาชีพเสี่ยงที่มีภาวะเครียด วิตกกังวล

60.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

วิธีการดำเนินงาน สอบถาม ประชุม อสมสำรวจ.ในทุกหมู่บ้าน ได้ข้อมูลจากกลุ่ม อสม. และ รพ.สต.ประจำตำบลทั้งสอง พบว่าข้อมูลที่รับมีแรงงานนอกระบบที่มีอาการป่วย ตามร่างการ ต้องแก้โดยการยืดเหยียด มีจำนวนมาก อสม.จึงได้ลงมติในที่ประชุม ต้องการช่วยบุคคลที่กล่าวมานี้- อบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มแรงงานนอกระบบการวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ (JSA)
- การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครอาชีวะอนามัย(อส.อช) การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ(JSA)
- การพัฒนาระบบเพื่อนแรงงานช่วยเตือนให้ลดอันตรายจากพฤติกรรมการประกอบอาชีพ
- มีการจัดเก็บข้อมูลด้านสถานการณ์สุขภาพกลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง - การจัดระบบบริการด้านสุขภาพแก่กลุ่มผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง เช่น การจัดตั้งคลินิกอาชีวะอนามัย การจัดตั้งคลินิกเกษตร

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.จำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ 2.ร้อยละของแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ 3.จำนวนมาตรการในการทำงานหรือข้อกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันกับปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน 4.ร้อยละของแรงงานนอกระบบที่ตรวจพบสารเคมีอันตรายในเลือด 5.จำนวนศูนย์เรียรนรู้ด้านเกษตรกรปลอดสารเคมีหรืออินทรีย์ เกษตรต้นแบบ 6.ร้อยละของผู้ประกอบอาชีพเสี่ยงที่มีภาวะเครียด วิตกกังวล

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 มี.ค. 2564 10:42 น.