กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่


“ โครงการพัฒนางานแพทย์แผนไทยในสถานบริการ ”

ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอุไร คงแสง

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนางานแพทย์แผนไทยในสถานบริการ

ที่อยู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3366-1-06 เลขที่ข้อตกลง 06/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนางานแพทย์แผนไทยในสถานบริการ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนางานแพทย์แผนไทยในสถานบริการ



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในสถานบริการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์ (2) ส่งเสริมสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ประชาชนบางส่วนยังขาดความรู้และการตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันมีความเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว รวมทั้งโรคภัย และเชื้อโรคต่างๆ ก็มีจํานวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ระบบการแพทย์แผนปัจจุบันเพียงระบบเดียวไม่สามารถรักษาสุขภาพ อาการเจ็บป่วย ได้อย่างครอบคลุม จึงต้องการวิธีการที่หลากหลายในการแก้ปัญหาสุขภาพอนามัย ระบบการแพทย์แผนไทยซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของสังคมไทยที่ถูกสะสมและถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งสู่อีกรุ่นหนึ่งมาเป็นเวลานานอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการดูแลบําบัดและรักษาสุขภาพของประชาชนซึ่งเริ่มได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก แนวทางในการรักษาผู้ป่วยโดยทั่วไปจะมีการใช้ยาสมุนไพร การนวดประคบประกอบการรักษา นอกจากนี้การอบสมุนไพรยังเป็นทางเลือกหรือวิธีการหนึ่งในการช่วยส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในกลุ่มผู้ป่วยหอบหืด ภูมิแพ้และปวดกล้ามเนื้อให้ดีขึ้น การอบสมุนไพร เป็นวิธีการบำบัดรักษาและส่งเสริมสุขภาพ ตามหลักของการแพทย์แผนไทย โดยใช้หลักการอบสมุนไพร คือ ต้มสมุนไพรหลาย ๆ ชนิดรวมกัน ซึ่งประกอบด้วยสมุนไพรที่มีน้ำมันหอมระเหยและสมุนไพรรักษาตามอาการ งานแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกสถานีอนามัยเขาปู่ เห็นว่า การดูแลรักษาผู้ป่วยด้วยวิธีการอบสมุนไพรในผู้ป่วยหอบหืด ภูมิแพ้ และปวดกล้ามเนื้อ สามารถลดการใช้ยาแผนปัจจุบันลง และเพื่อเป็นทางเลือกใช้บริการรักษาด้วยวิธีการแพทย์แผนไทยอีกรูปแบบหนึ่งในการรักษา นอกจากนี้ยังเป็นการอนุรักษ์และฟื้นฟูการใช้ภูมิปัญญาของคนไทย เพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในสถานบริการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์
  2. ส่งเสริมสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทำให้ประชาชนเข้าถึงงานบริการด้านการแพทย์แผนไทยในหน่วยบริการสาธารณสุขมากขึ้น
  2. ลดค่าใช้จ่ายในการใช้ยาแผนปัจจุบัน
  3. ส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพของประชาชนให้ดีขึ้น
  4. เป็นการอนุรักษ์และฟื้นฟูภูมิปัญญาของคนไทย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลผลิต 1.จัดซื้ออุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรมอบสมุนไพรเพื่อใช้สถานบริการ 2.ผู้ป่วยได้รับบริการด้านแพทย์แผนไทย ผลลัพธ์ 1.ผู้ป่วยได้รับบริการด้านแพทย์แผนไทย(อบสมุนไพร) ร้อยละ 82

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในสถานบริการ
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยรับบริการด้วยแพทย์แผนไทย ร้อยละ 80 ของจำนวนผู้รับบริการทั้งหมด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในสถานบริการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์ (2) ส่งเสริมสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ประชาชนบางส่วนยังขาดความรู้และการตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนางานแพทย์แผนไทยในสถานบริการ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3366-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอุไร คงแสง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด