กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปาดัง


“ โครงการพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคเรื้องรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ ประจำปีงบประมาณ 2560 ”

อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางดวงพรหมัดสุเด็น

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคเรื้องรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ ประจำปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L8301-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคเรื้องรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปาดัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคเรื้องรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ ประจำปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคเรื้องรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L8301-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปาดัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่มีจำนวนผู้ป่วยมากขึ้นทุกปี ปัจจุบันการจัดระบบบริการในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีคุณภาพของหน่วยบริการสาธารณสุขใกล้บ้านย่อมมีความจำเป็นอย่างมาก เพื่อลดการรักษาของผู้ป่วยซึ่งมีความเบื่อหน่ายต่อการรักษาในโรงพยาบาลและความล่าช้าในการรอพบแพทย์ที่โรงพยาบาลขนาดใหญ่ จากข้อมูลทะเบียนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ ตำบลปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา พบว่าในปีงบประมาณ 2558 มีกลุ่มผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 172 ราย กลุ่มเสี่ยง จำนวน 108 ราย และมีจำนวนประชากรที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นผู้ป่วยเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ รวมทั้งจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่กินยาไม่ต่อเนื่องก็เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนกลายเป็นผู้ป่วยเรื้อรังประเภทอื่นๆตามมาจากสาเหตุนำโรคของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนารูปแบบและมาตรฐานของคลินิกเรื้อรังในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแบบองค์รวมและต่อเนื่องผสมผสาน
  2. 2. เพื่อคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไป และส่งต่อการรับรักษา กรณีพบผลการตรวจผิดปกติ
  3. 3. เพื่อสร้างแรงจูงใจแก้ผู้ป่วยและญาติให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพคนในครอบครัว
  4. 4. เพื่อพัฒนาคลินิก DPAC (คลินิกไร้พุง ลดโรค) ใน รพ.สต.บ้านไร่
  5. 5.เพื่อลดอุบัติเหตุการณ์เกิดผู้ป่วยรายใหม่และลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.มีการพัฒนาคลินิกเรื้อรังที่ครบวงจรตามศัพยภาพของพื้นที่ มีมาตรฐานเป็นองค์รวมและต่อเนื่องและประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ 2.ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีการนำความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 3.อัตราการเกิดผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง 4.อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. มีคลินิกโรคเรื้องรังที่มีรูปแบบและมาตรฐานการปฏิบัติงานที่เป็นระบบชัดเจนมีความเป็นองค์รวมและต่อเนื่องผสมผสานทุกวันพฤหัสที่ 3 ของเดือน โดยมีทีมสหวิชาชีพจากโรงพยาบาลปาดังเบซาร์ โดยรับส่งผู้ป่วยจาก รพ.ปาดังเบซาร์ และผู้ป่วยทุกรายได้รับการตรวจรักษาจากแพทย์ รับยาและคำแนะนำการใช้ยาจากแพทย์ ตรวจและบริการด้านทันตกรรมโดยทันตแพทย์และเจ้าหน้าที่ทันตาภิบาล นักกายภาพ แพทย์แผนไทยและนักโภชนากรตามลำดับ 2.บริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน เป้าหมาย 662 คน คัดกรอง 656 คน คิดเป็นร้อยละ 99.09 ความดันโลหิตสูง เป้าหมาย 584 คน คัดกรอง 577 คน คิดเป็นร้อยละ 98.80
    2. มีจัดตั้งและพัฒนาคลินิก DPAC (คลินิกไร้พุง ลดโรค) ใน รพ.สต.และมีการติดตามกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง
    3. ผู้ป่วยโรคเรื้องรังทุกรายในพื้นที่จำนวน 164 คน ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องและมีการติดตามกรณีขาดการรักษา

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อพัฒนารูปแบบและมาตรฐานของคลินิกเรื้อรังในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแบบองค์รวมและต่อเนื่องผสมผสาน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไป และส่งต่อการรับรักษา กรณีพบผลการตรวจผิดปกติ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อสร้างแรงจูงใจแก้ผู้ป่วยและญาติให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพคนในครอบครัว
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4. เพื่อพัฒนาคลินิก DPAC (คลินิกไร้พุง ลดโรค) ใน รพ.สต.บ้านไร่
    ตัวชี้วัด :

     

    5 5.เพื่อลดอุบัติเหตุการณ์เกิดผู้ป่วยรายใหม่และลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนารูปแบบและมาตรฐานของคลินิกเรื้อรังในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแบบองค์รวมและต่อเนื่องผสมผสาน (2) 2. เพื่อคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไป และส่งต่อการรับรักษา กรณีพบผลการตรวจผิดปกติ (3) 3. เพื่อสร้างแรงจูงใจแก้ผู้ป่วยและญาติให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพคนในครอบครัว (4) 4. เพื่อพัฒนาคลินิก DPAC (คลินิกไร้พุง ลดโรค) ใน รพ.สต.บ้านไร่ (5) 5.เพื่อลดอุบัติเหตุการณ์เกิดผู้ป่วยรายใหม่และลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคเรื้องรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L8301-01-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางดวงพรหมัดสุเด็น )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด