กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเครือข่ายท่าหินร่วมใจ เฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค ปี2564
รหัสโครงการ 64-L5240-1-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน
วันที่อนุมัติ 23 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 24 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 18,350.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางจารุพรรณ โปชู
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.395,100.419place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

อาหารเป็นปัจจัย 4 ที่มีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์อย่างยิ่ง การบริโภคอาหารที่สุก สะอาด ถูกต้องเหมาะสม ทั้งประเภท ปริมาณครบถ้วน 5 หมู่ ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต ช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ และยังช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันอีกด้วย ในทางกลับกัน การบริโภคอาหารที่ไม่สด สะอาด มีสารปนเปื้อนก็จะเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภคได้ อาหาร จะสะอาดหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบดังนี้คือ อาหารหรือวัตถุดิบที่นำมาปรุง สถานที่ผลิตและประกอบการด้านอาหาร เช่น ร้านอาหาร แผงลอย ตลาดแผงขายอาหารสด และโรงครัว และร้านขายของชำ คนจำหน่าย คนปรุง และคนเสิร์ฟอาหาร ตลอดจนคนทำความสะอาดภาชนะ นอกจากนี้ก็ยังมีสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น แหล่งน้ำเสีย และแหล่งทิ้งขยะมูลฝอย เป็นต้น หากอาหารไม่สะอาด มีสารปนเปื้อน ปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ ทำให้ผู้บริโภคมีอาการท้องเสียได้ จากสถานการณ์โรคอุจจาระร่วง ปี 2564 ของตำบลท่าหิน นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2563 ถึงวันที่ 20 ตุลาคม 2563 รพ.สต.ท่าหิน ได้รับรายงานผู้ป่วยโรค Diarrhoea จำนวนทั้งสิ้น 35 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 858.05 ต่อประชากรแสนคน โดยพบมากในกลุ่ม 0-4 ปี จำนวน 20 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 665.54 ต่อประชากรแสนคน รองลงมากลุ่มเด็กอายุ 5-9ปี จำนวน 7 แสนคน คิดเป็นอัตรป่วย 232.94 ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ โดยอาชีพส่วนใหญ่คือ เด็กในปกครองอัตราป่วย 500 ต่อประชากรแสนคน อาชีพนักเรียนอัตราป่วย 300 ต่อประชากรแสนคน ซึ่งโรคอุจจาระร่วงยังเป้นปัยหาที่สำคัญของตำบลท่าหินและพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ โดยมีอัตราป่วยต่ำกว่า 1,000 ต่อแสนประชากร เพียงเล็กน้อยและมีแนวโน้มอัตราสูงกว่า 1,000 ต่อแสนประชากรเมื่อสิ้นสุดปี2563จากการดำเนินงานอาหารปลอดภัยและงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขของ รพ.สต.ท่าหิน ปี2563 ที่ได้ดำเนินการแล้วเสร็จ เช่น โดยอบรมพี่เลี้ยงเด็กอายุ 0-4 ปี จำนวน 20 คน และ 2-4 ปี จำนวน 20 คน และผู้ประกอบอาหารในโรงเรียน จำนวน 2 คน ผู้ประกอบอาหารในงานเลี้ยงของชุมชน 3 คน การตรวจสารปนเปื้อนในแผงลอยจำหน่ายอาการจำนวน 1 แผง คิดเป็นร้อยละ 100 แม้การดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารขอวรพ.สต.ท่าหิน จะทำให้อัตราป่วยด้วยอุจจาระร่วงในเด็ก 0-4ปี ลดลงแต่ยังสูงกว่าค่า Medianในช่วงระยะเวลาเดียวกัน จึงต้องอาศัยภาคีเครือข่ายต่างๆในตำบลท่าหิน ร่วมกันเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและพัฒนาคุ้มครองอย่างจริงจัง โดยเครือข่ายมีการอบรม พัฒนาความรู้ พฤติกรรม และศักยภาพ ในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคของหมู่ 1-6 ตำบลท่าหิน ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมตำบลท่าหิน ดังนั้นโณงพยาบาลสุขเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน จึงได้จัดทำโครงการเครือข่ายท่าหินร่วมใจ เฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2564 ขึ้นเพื่อให้ประชาชนตำบลท่าหินมีสุขภาพดีปลอดจากโรคที่เกิดจาการบริโภคอาหารและการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ขายอาหารแผงลอยในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหินมีความรู้ในการดำเนินงานอาหารสะอาดปลอดภัย ตระหนัก เห็นความสำคัญและร่วมรับผิดชอบ ในการพัฒนาให้แผงลอยผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด

ร้านค้า แผงลอยได้รับการติดตาม ดูแลด้านสุขาภิบาลอาหาร และผ่านเกรฑ์อาหารปลอดภัยร้อยละ 100

100.00
2 เพื่อให้กลุ่มแม่บ้าน/ผู้ปรุงอาหาร อสม.ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียน ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน มีความรู้เรื่องอาหารปลอดภัยสุขาภิบาลอาหาร สามารถเลือกซื้อ บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย

กลุ่มแม่บ้าน/ผู้ปรุงอาหาร อสม. ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและในโรงเรียน ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน มีความรู้เรื่องอาหารปลอดภัยสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 100

100.00
3 เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายให้เข้มแข็งแก่ผู้บริโภค

เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายแก่ผู้บริโภค ร้อยละ 80

80.00
4 เพื่อพัฒนาและขยายผลการดำเนินงานองค์กรปลอดโฟมและแผงลอยปลอดโฟม

เพื่อพัฒนาและขยายผลการดำเนินงานองค์กรปลอดโฟมและแผงลอยปลอดโฟมเพิ่มจนครบร้อยละ 100

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.ประชุมแกนนำชุมชนและประธาน อสม.แต่ละหมู่ 2.ตรวจหาแบคทีเรียในอาหาร และทดสอบหาค่าไอโอดีนในเกลือ เพื่อดูแลด้านสุขาภิบาลอาหารอาหารปลอดภัยในชุมชน -แผงลอยขายอาหาร จำนวน 1 แผง -ร้านค้า จำนวน 9 ร้าน -โรงอาหารในโรงเรียน จำนวน 2 โรงเรียน
3.อบรมสุขาภิบาลอาหาร -กลุ่มแม่บ้าน/ผูปรุงอาหารในครัว จำนวน 20 คน จำนวน 2 วัน -อสม.แต่ละหมู่ 2คน/1วัน จำนวน 12 คน จำนวน 2 วัน -ผู้ประกอบอาหารและครูผู้ดูแลเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 คน จำนวน 2 วัน -ผู้ประกอบอาหารและครูในโรงเรียน 4 คน จำนวน 2 วัน -ตัวแทนแผงลอย 2 คนจำนวน 2 วัน 4.สนับสนุนการดำเนินงานโครงการอย.น้อยในโรงเรียน 5.สนับสนุนการพัฒนาแผงลอยตัวอย่าง 6.ติดตาม นิเทศ ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ผู้ประกอบอาหารในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียน 7.จัดทำข้อตกลงในการพัฒนาองค์กรปลอดโฟม ปี 2564 ดังนี้ -องค์กรปลอดโฟม -แผงลอยปลอดโฟม 8.ดำเนินการอาหารปลอดภัยในชุมชน 9.ประเมินผลการดำเนินองค์กรปลอดโฟม และแผงลอยปลอดโฟม 10.ประเมินผลการดำเนินงานสุขาภิบาลในชุมชนสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ประกอบการอาหาร แผงลอย มีความรู้เรื่องการสุขาภิบาลอาหารและปฏิบัติตามมาตรฐานของสถานประกอบการ ประชาชนมีความรู้ เกิดความตระหนัก และเห็นความสำคัญในการเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยได้คุณค่าทางโภชนาการ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 มี.ค. 2564 10:38 น.