กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการผู้ประกอบการใส่ใจ ผู้บริโภคปลอดภัย ปลอดโรค ปี 2564
รหัสโครงการ 64-L8421-02-12
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมสร้างเสริมสุขภาพบ้านเปียะ
วันที่อนุมัติ 10 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 31 มีนาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 มีนาคม 2564
งบประมาณ 6,750.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวซารีพะห์ มามะ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวธัญลักษณ์ มโนกิตติพันธ์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.717,101.244place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) ครบ 3 มื้อ
20.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ซึ่งเป็นกฎหมายบัญญัติเกี่ยวกับการควบคุมดูแลเพื่อคุ้มครองประชาชนด้านสุขลักษณะและอนามัยสิ่งแวดล้อมจาการประกอบกิจการที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของประชาชน โดยให้อำนาจแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่นในการควบคุมดูแลจัดเก็บค่าธรรมเนียมใบอนุญาต การสั่งพักใช้เพื่อเพิกถอนใบอนุญาตและผู้ที่จะดำเนินการประกอบกิจการต้องขออนุญาตต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นก่อนดำเนินการเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่ากิจกรรมดังกล่าวจะไม่ก่อเหตุเดือดร้อนรำคาญหรืออันตรายต่อสุขภาพของประชาชนได้แก่ กิจการตลาด ร้านอาหารร้านสะสมอาหาร และกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพที่อาจส่งผลกระทบต่อการแพร่ระบาดของโรคและสุขภาพของประชาชนผู้บริโภค จึงจำเป็นต้องมีการควบคุมหรือกำกับดูแลการประกอบกิจการดังกล่าว
จากกาสำรวจข้อมูลร้านอาหาร แผงลอย ในปี 2563 มีร้านจำหน่ายอาหารทั้งหมด 10 ร้าน เป็นร้านที่ดำเนินการถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร จำนวน 3 โรงเรียน ร้อยละ 55.56 และดำเนินการไม่ถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร จำนวน 7 ร้าน ร้อยละ 27.78 สาเหตุเนื่องจากผู้ประกอบอาหารและผู้สัมผัสอาหารดังกล่าวไม่มีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารทำให้ร้านอาหารปฏิบัติไม่ได้มาตรฐานตามข้อกำหนด มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านเปียะจึงได้จัดทำโครงการผู้ประกอบการใส่ใจ ผู้บริโภคปลอดภัย ปลอดโรค โรค ปี 2564

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหารและอันตรายที่เกิดจากอาหารและน้ำที่ไม่สะอาดปลอดภัย

ผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรผู้สัมผัสอาหาร ผ่านการทดสอบความรู้จากแบบทดสอบของกรมอนามัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมด

30.00
2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และปฏิบัติตามข้อกำหนด/มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร

ผู้ผ่านการอบรม ร้อยละ 100 ได้รับประกาศนียบัตรและบัตรประจำตัว เพื่อไว้สำหรับการแสดงตนในกรณีที่ได้รับการตรวจสอบจากหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง

30.00
3 เพื่อให้ความรู้ในด้านสุขาภิบาลอาหาร สุขลักษณะ และสุขอนามัยในกลุ่มผู้สัมผัสอาหาร

 

30.00
4 เพื่อให้มีความรู้เบื้องต้นในขั้นตอนการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ภาชนะอุปกรณ์และมือผู้สัมผัสอาหาร ของร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร และผู้ปรุงอาหารในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

 

30.00
5 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) ครบ 3 มื้อ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ ครบ3 มื้อ เพิ่มขึ้น

20.00 30.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 20 6,750.00 0 0.00
1 - 31 มี.ค. 64 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้สัมผัสอาหาร 20 6,750.00 -

1.สำรวจข้อมูลร้านค้า ร้านอาหารและแผงลอย ในชุมชน
2.จัดอบรมให้ความรู้หลักสูตรการสุขาภิบาลอาหาร
3.ในการออกคุ้มตรวจร้านอาหารและแผงลอย หลังการอบรม โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอสม.
4..ประชุมถอดบทเรียนการดำเนินโครงการผู้ประกอบการใส่ใจผู้บริโภคปลอดภัยปลอดโรคแก่ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อนำข้อมูลลงไปใช้ในการพัฒนางานในโอกาสต่อไป

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ประกอบการร้านอาหาร ผู้สัมผัสมีความรู้ในเรื่อง ด้านสุขาภิบาลอาหาร สามารถนำความรู้ที่ได้ไปดูแลปรับปรุงร้านอาหารให้สะอาดถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร ทำให้ร้านอาหารผ่านการประเมิน ส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่มีคุณภาพและมีความปลอดภัย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 มี.ค. 2564 14:43 น.