กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการติดบ้านไม่ติดเตียง ประจำปี 2564
รหัสโครงการ 64-L4155-01-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลูปัง
วันที่อนุมัติ 19 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 11,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุนิสา หะยีเลาะแม
พี่เลี้ยงโครงการ นางสุนิสา หะยีเลาะแม
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.464,101.374place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มี.ค. 2564 30 ก.ย. 2564 11,800.00
รวมงบประมาณ 11,800.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จัดเป็นโครงการอบรม/พัฒนาศักยภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อคืนข้อมูลสุขภาพให้กับผู้สูงอายุและภาคีเครื่อข่ายมีส่วนร่วม

1.ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุได้รับการประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 80 11,800.00 0 0.00
1 มี.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 จัดฝึกอบรม 80 11,800.00 -
  1. เขียนโครงการและกำหนดแผนปฏิบัติงานและติดต่อประสานงานกับองค์การบริหารส่วนตำบลกาลูปัง
  2. มีการจัดทำประชาคม ตืนข้อมูลผู้สุงอายุเพื่อรับฟังปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุในด้านสุขภาพ ขั้นดำเนินการ
  3. ดำเนินการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นและสุขภาพช่องปากแก่ผู้สูงอายุ โดยใช้แบบประเมิน Mini Cog/2Q
  4. จัดทำแผนการดูแลผู้สูงอายุระดับตำบลมีการดำเนินการดูแลสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ
  5. มีการพัฒนาศักยภาพ อสม. จิตอาสาดูแลผู้สูงอายุครอบคลุมทุกพิ้นที่ให้มีความรู้เพียงพอต่อผู้สูงอายุและครอบครัวอบรมเชิงปฏิบัติการ 4.ให้ความรู้กับผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ ในการดูแลสุขภาพตนเองให้เป็นผู้สูงอายุที่พึงประสงค์
  6. กิจกรรมติดตามการเยี่่ยมบ้านผู้สูงอายุโดยทีมสุขภาพและเครือข่ายมีการประเมินปัญหาของผู้สูงอายุให้ความรู้เฉพาะด้านในการดูแลผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยที่บ่้านแก่ญาติ ผู้ดูแล มีระบบส่งต่อและติดตาม
  7. ร่วมจัดกิจกรรมกับองค์การบริหารส่วนตำยบกาลูปัง ในวันผู้สูงอายุประจำปี ขั้นประเมินผล
  8. จากรายงานผล HDC เว็บไซต์ของสาธารณสุขจังหวัดยะลา
  9. จากรายงานผล เว็บไซต์ LTC ของกรมอนามัย
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. คืนข้อมูลสุขภาพให้กับผู้สูงอายุและเกิดภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม
  2. ผู้สูงอายุได้รับการประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน
  3. ผู้สูงอายุได้รับการแก้ปัญหาตามสภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุจากการเยี่ยมบ้านตามแผน
  4. อสม. จิตอาสามีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน มีการส่งต่อและติดตามผู้สูงอายุพร้อมกับเจ้าหน้าที่
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 มี.ค. 2564 15:36 น.