กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง


“ โครงการปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ ”

ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายสมบูรณ์ ระธารมณ์

ชื่อโครงการ โครงการปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L7580-2-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L7580-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มติคณะรัฐมนตรี (ครม.) กำหนดให้มีกิจกรรมการออกกำลังกายทุกวันพุธของทำเนียบรัฐบาลและส่วนราชการต่างๆ ในช่วงเวลา 15:00 น. ถึง 16:30 น. ให้เป็นช่วงเวลาการออกกำลังกายของข้าราชการ โดยส่งเสริมให้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 20-30 นาที ซึ่งเป็นผลมาจากการประชุมนานาชาติว่าด้วยการส่งเสริมกิจกรรมทางกายและสุขภาพ ครั้งที่ 6 หรือ ISPAH 2016 Congress ที่ไทย โดยสสส. เป็นเจ้าภาพร่วมกับสมาพันธ์นานาชาติด้านการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีกระทรวงสาธารณสุข กรุงเทพมหานครเป็นเจ้าภาพร่วม และองค์การอนามัยโลกเป็นผู้สนับสนุนหลักว่า ประเทศไทยร่วมจัดทำประกาศปฏิญญากรุงเทพฯและประกาศดำเนินการตามข้อเรียกร้องในปฏิญญาดังกล่าวซึ่งต้องขอบคุณท่านนายกรัฐมนตรี ที่ให้ความสำคัญในการดำเนินการส่งเสริมให้คนไทยมีกิจกรรมทางกายอย่างจริงจังและเร่งด่วน ซึ่งหากทำได้สำเร็จคนไทยจะมีสุขภาพแข็งแรง ลดความเจ็บป่วยจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้อย่างแน่นอนและยังจะนำไปสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ (sustainable development goals) ในด้านอื่นๆอีกด้วย นอกจากนี้ กระทรวงสาธารณสุขอยู่ระหว่างการยกร่างยุทธศาสตร์กิจกรรมทางกายชาติเพื่อเสนอให้คณะรัฐมนตรี พิจารณาเห็นชอบ ซึ่งจะเป็นแนวทางการทำงานให้แก่กระทรวงต่างๆ และทุกภาคส่วน ที่จะส่งเสริมให้ประชาชนมีกิจกรรมทางกายได้ตามบริบทต่างๆ ได้มากขึ้นพิจารณาเห็นชอบ ซึ่งจะเป็นแนวทางการทำงานให้แก่กระทรวงต่างๆ และทุกภาคส่วน ที่จะส่งเสริมให้ประชาชนมีกิจกรรมทางกายได้ตามบริบทต่างๆ ได้มากขึ้น
เขตเทศบาลตำบลฉลุง มีการออกกำลังกายหลายประเภท เช่น แอโรบิค ไทเก็ก มโนราห์ แต่การออกกำลังกายดังกล่าวจะมีความเหมาะสมและเป็นที่ชื่นชอบของประชาชนบางกลุ่มเท่านั้น ทำให้ประชาชนมีการออกกำลังกายไม่ทั่วถึง คณะกรรมการชมรมจักรยานได้เล็งเห็นว่า การปั่นจักรยานเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่ดีต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต อีกทั้งการปั่นจักรยานยังเป็นการประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จุดประกายและเป็นตัวอย่างที่ดีต่อเยาวชน ประชาชน และผู้ที่พบเห็นทั่วไปได้ตระหนักถึงประโยชน์ของการออกกำลังกาย ชมรมจักรยานเทศบาลตำบลฉลุง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเสริมสร้างสุขภาพจึงได้จัดทำโครงการปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพขึ้น เพื่อเป็นการเชิญให้ประชาชนหันมาชื่นชอบการออกกำลังกายประเภทนี้ พร้อมทั้งให้ความรู้และทักษะของการปั่นจักรยานอย่างปลอดภัย อนี่งการดำเนินงานดังกล่าว ส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพดีถ้วนหน้าต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเป็นการเชิญชวนให้ประชาชนหันมาชื่นชอบการออกกำลังกายโดยการปั่นจักรยาน
  2. เพื่อให้ประชาชนรู้จักการเตรียมความพร้อม วิธีการเลือกใช้จักรยานให้เหมาสมกับตนเองและสุขภาพ
  3. เพื่อให้ประชาชนสามารถนำความรู้เรื่องการใช้สัญญาณมือและสัญญาณจราจรในการป้องกัน การเกิดอุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 5
    กลุ่มวัยทำงาน 20
    กลุ่มผู้สูงอายุ 15
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนในชุมชนเข้าร่วมเป็นสมาชิกชมรมปั่นจักยานเพิ่มขึ้น

    2.ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมรู้จักการเตรียมความพร้อมและวิธีการเลือกใช้จักรยานให้เหมาสม กับตนเองและสุขภาพ

    3.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการใช้สัณญาณมือและสัณญาณจราจรในการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้เรื่องการเตรียมความพร้อม การเลือกใช้จักรยาน ความปลอดภัย การใช้สัญญาณมือและสัญญาณจราจร

    วันที่ 28 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.1 การประเมินการเชิญชวนให้ประชาชนหันมาชื่นชอบการออกกำลังโดยการปั่นจักรยาน ซึ่งมีจำนวนสมาชิกในชมรม 33 คน และหลังการจัดกิจกรรมมีสมาชิกเข้าร่วมชมรมเพิ่มจำนวน 7 คน1.2 การประเมินการเตรียมความพร้อม วิธีการเลือกใช้จักรยานให้เหมาะสมกับตนเองและสุขภาพ
    มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน40 คน กลุ่มเป้าหมายมีการเตรียมความพร้อม วิธีการเลือกใช้จักรยานให้เหมาะสมกับตนเองระดับปานกลาง จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 32.5 กลุ่มเป้าหมายมีการเตรียมความพร้อม วิธีการเลือกใช้จักรยานให้เหมาะสมกับตนเองระดับดี จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 37.5 และกลุ่มเป้าหมายมีการเตรียมความพร้อม วิธีการเลือกใช้จักรยานให้เหมาะสมกับตนเองระดับดีมาก จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 30 1.3 กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้เรื่องการใช้สัญญาณมือและสัญญาณจราจรในการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด จำนวน 40 คน กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันระดับปานกลาง จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 32.5 กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันระดับดี จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 42.5 และกลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันระดับดีมาก จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 25

     

    40 40

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.1 การประเมินการเชิญชวนให้ประชาชนหันมาชื่นชอบการออกกำลังโดยการปั่นจักรยาน ซึ่งมีจำนวนสมาชิกในชมรม 33 คน และหลังการจัดกิจกรรมมีสมาชิกเข้าร่วมชมรมเพิ่มจำนวน 7 คน 
    1.2 การประเมินการเตรียมความพร้อม วิธีการเลือกใช้จักรยานให้เหมาะสมกับตนเองและสุขภาพ
    มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน  40 คน กลุ่มเป้าหมายมีการเตรียมความพร้อม วิธีการเลือกใช้จักรยานให้เหมาะสมกับตนเองระดับปานกลาง จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 32.5 กลุ่มเป้าหมายมีการเตรียมความพร้อม วิธีการเลือกใช้จักรยานให้เหมาะสมกับตนเองระดับดี จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 37.5 และกลุ่มเป้าหมายมีการเตรียมความพร้อม วิธีการเลือกใช้จักรยานให้เหมาะสมกับตนเองระดับดีมาก จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 30
    1.3 กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้เรื่องการใช้สัญญาณมือและสัญญาณจราจรในการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด จำนวน 40 คน กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันระดับปานกลาง จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 32.5 กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันระดับดี จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 42.5 และกลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันระดับดีมาก จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 25

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเป็นการเชิญชวนให้ประชาชนหันมาชื่นชอบการออกกำลังกายโดยการปั่นจักรยาน
    ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนเข้าร่วมเป็นสมาชิกชมรมปั่นจักยานเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80

     

    2 เพื่อให้ประชาชนรู้จักการเตรียมความพร้อม วิธีการเลือกใช้จักรยานให้เหมาสมกับตนเองและสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมรู้จักการเตรียมความพร้อมและวิธีการเลือกใช้จักรยานให้เหมาสม กับตนเองและสุขภาพ ร้อยละ 80

     

    3 เพื่อให้ประชาชนสามารถนำความรู้เรื่องการใช้สัญญาณมือและสัญญาณจราจรในการป้องกัน การเกิดอุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการใช้สัณญาณมือและสัณญาณจราจรในการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน ร้อยละ 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 5
    กลุ่มวัยทำงาน 20
    กลุ่มผู้สูงอายุ 15
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเป็นการเชิญชวนให้ประชาชนหันมาชื่นชอบการออกกำลังกายโดยการปั่นจักรยาน (2) เพื่อให้ประชาชนรู้จักการเตรียมความพร้อม วิธีการเลือกใช้จักรยานให้เหมาสมกับตนเองและสุขภาพ (3) เพื่อให้ประชาชนสามารถนำความรู้เรื่องการใช้สัญญาณมือและสัญญาณจราจรในการป้องกัน การเกิดอุบัติเหตุในชีวิตประจำวัน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L7580-2-09

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสมบูรณ์ ระธารมณ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด