โครงการขับขี่ปลอดภัยเสริมสร้างวินัยจราจร
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการขับขี่ปลอดภัยเสริมสร้างวินัยจราจร ”
ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาววารุณี เมืองศรีทอง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการขับขี่ปลอดภัยเสริมสร้างวินัยจราจร
ที่อยู่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5240-2-07 เลขที่ข้อตกลง 6/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการขับขี่ปลอดภัยเสริมสร้างวินัยจราจร จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการขับขี่ปลอดภัยเสริมสร้างวินัยจราจร
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการขับขี่ปลอดภัยเสริมสร้างวินัยจราจร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5240-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันอุบัติเหตุจากการจราจรก่อให้เกิดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนปีหนึ่งๆอย่างมหาศาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุบัติเหตุจราจรอันเนื่องมาจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ ซึ่งมีผู้เสียชีวิตบาดเจ็บ และพิการส่วนใหญ่อยู่ในวัยเด็กและเยาวชนอันเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าในการพัฒนาประเทศ แต่ต้องมาเสียชีวิตบาดเจ็บ และพิการก่อนที่จะทำประโยชน์ให้กับประเทศชาติ สาเหตุส่วนใหญ่ของการเกิดอุบัติเหตุจาการจราจร คือการขาดความระมัดระวังในการขับขี่ยวดยานพาหะ และการไม่ปฏิบัติตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัดในด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินโดยส่วนรวม อุบัติเหตุบนทางหลวงนอกเขตเทศบาลมักเป็นอุบัติเหตุที่ร้ายแรงมีผู้บาดเจ็บล้มตายจำนวนมาก ส่วนอุบัติเหตุยานยนต์ในเขตชุมชน ย่อมเกิดขึ้นบ่อยกว่าในทางหลวงหลายเท่า แต่มักไม่รุนแรง มีผู้บาดเจ็บถึงตายไม่มากนัก ส่วนมากเกิดจากรถนั่งส่วนบุคคลข้ามถนน รถยนต์ชนรถจักรยานยนต์ หรือรถยนต์ชนกันเอง เป็นต้น ในการป้องกันอุบัติเหตุสามารถทำได้โดยการปลูกฝังให้ประชาชน เยาวชนมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดอุบัติเหตุเพิ่มองค์ความรู้ มีวินัยจราจร การขับขี่ปลอดภัย มีความตระหนักในการป้องกันอุบัติเหตุ ทั้งนี้ทางโรงเรียนวัดโพธิ์กลางได้เล็งเห็นความสำคัญของการลดอุบัติเหตุในชุมชนตำบลท่าหิน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อดำเนินการลดอุบัติเหตุในชุมชนและปลูกฝัง พัฒนานักเรียนให้เป็นผู้ที่มีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกฎจราจร ขับขี่อย่างปลอดภัยเพื่อป้องกันอุบัติเหตุในชุมชนให้มีความยิ่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมสร้างวินัยจราจรให้กับนักเรียน
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวินัยจราจรมากขึ้น
- เพื่อฝึกความมีระเบียบให้เกิดขึ้นในชุมชน ลดการเกิดอุบัติเหตุ เสริมสร้างวินัยจราจร
- เพื่อสร้างจิตสำนักที่ดีในการใช้รถใช้ถนนให้เกิดขึ้นในเด็กและเยาวชน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแนะนำให้แก่บุคคลอื่นได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
95
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนมีวินัยจราจร ใช้รถ ใช้ถนน อย่างปลอดภัย
นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวินัยจราจรมากขึ้น
ความมีระเบียบให้เกิดขึ้นในชุมชน ลดการเกิดอุบัติเหตุ วินัยจราจรที่ดีเกิดขึ้นแก่เยาวชน
นักเรียนมีจิตสำนึกที่ดีในการใช้รถใช้ถนน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแนะนำให้แก่บุคคลอื่นได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.นักเรียนมีวินัยในการจราจร ใช้รถ ใช้ถนน อย่างปลอดภัย
2.นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวินัยจราจรมากขึ้น
3.ความมีระเบียบให้เกิดขึ้นในชุมชน ลดการเกิดอุบัติเหตุ วินัยการจราจรที่ดีเกิดขึ้นแก่เยาวชน
4.นักเรียนมีจิตสำนึกที่ดีในการใช้รถใช้ถนน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแนะนำให้แก่บุคคลอื่นได้อย่างถูกต้อง
ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 บริเวณโรงเรียนและชุมชนทำให้การดำเนินการจัดกิจกรรมได้ล่าช้ากว่ากำหนดและต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับความปลอดภัยของนักเรียนแต่ละระดับชั้น คือมีการแบ่งจัดการอบรมบางระดับชั้นในโรงเรียนและจัดอบรมบางระดับชั้นแบบออนไลน์ เพราะมีนักเรียนบางคนอยู่ในช่วงกักตัวสังเกตอาการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเสริมสร้างวินัยจราจรให้กับนักเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้เรียนรู้การใช้รถ ใช้ถนน การขับขี่และการจราจรตามฐานการเรียนรู้ต่างๆและสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
100.00
100.00
2
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวินัยจราจรมากขึ้น
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีวินัยในการจราจร ใช้รถ ใช้ถนน อย่างปลอดภัย
100.00
100.00
3
เพื่อฝึกความมีระเบียบให้เกิดขึ้นในชุมชน ลดการเกิดอุบัติเหตุ เสริมสร้างวินัยจราจร
ตัวชี้วัด : ความมีระเบียนเกิดขึ้นในชุมชน การเกิดอุบัติเหตุภายในชุมชนลดลง
100.00
100.00
4
เพื่อสร้างจิตสำนักที่ดีในการใช้รถใช้ถนนให้เกิดขึ้นในเด็กและเยาวชน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแนะนำให้แก่บุคคลอื่นได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีจิตสำนักที่ดีในการใช้รถใช้ถนน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแนะนำให้แก่บุคคลอื่นได้อย่างถูกต้อง
80.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
95
95
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
95
95
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างวินัยจราจรให้กับนักเรียน (2) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวินัยจราจรมากขึ้น (3) เพื่อฝึกความมีระเบียบให้เกิดขึ้นในชุมชน ลดการเกิดอุบัติเหตุ เสริมสร้างวินัยจราจร (4) เพื่อสร้างจิตสำนักที่ดีในการใช้รถใช้ถนนให้เกิดขึ้นในเด็กและเยาวชน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแนะนำให้แก่บุคคลอื่นได้อย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการขับขี่ปลอดภัยเสริมสร้างวินัยจราจร จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5240-2-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาววารุณี เมืองศรีทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการขับขี่ปลอดภัยเสริมสร้างวินัยจราจร ”
ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาววารุณี เมืองศรีทอง
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5240-2-07 เลขที่ข้อตกลง 6/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการขับขี่ปลอดภัยเสริมสร้างวินัยจราจร จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการขับขี่ปลอดภัยเสริมสร้างวินัยจราจร
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการขับขี่ปลอดภัยเสริมสร้างวินัยจราจร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5240-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันอุบัติเหตุจากการจราจรก่อให้เกิดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนปีหนึ่งๆอย่างมหาศาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุบัติเหตุจราจรอันเนื่องมาจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ ซึ่งมีผู้เสียชีวิตบาดเจ็บ และพิการส่วนใหญ่อยู่ในวัยเด็กและเยาวชนอันเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าในการพัฒนาประเทศ แต่ต้องมาเสียชีวิตบาดเจ็บ และพิการก่อนที่จะทำประโยชน์ให้กับประเทศชาติ สาเหตุส่วนใหญ่ของการเกิดอุบัติเหตุจาการจราจร คือการขาดความระมัดระวังในการขับขี่ยวดยานพาหะ และการไม่ปฏิบัติตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัดในด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินโดยส่วนรวม อุบัติเหตุบนทางหลวงนอกเขตเทศบาลมักเป็นอุบัติเหตุที่ร้ายแรงมีผู้บาดเจ็บล้มตายจำนวนมาก ส่วนอุบัติเหตุยานยนต์ในเขตชุมชน ย่อมเกิดขึ้นบ่อยกว่าในทางหลวงหลายเท่า แต่มักไม่รุนแรง มีผู้บาดเจ็บถึงตายไม่มากนัก ส่วนมากเกิดจากรถนั่งส่วนบุคคลข้ามถนน รถยนต์ชนรถจักรยานยนต์ หรือรถยนต์ชนกันเอง เป็นต้น ในการป้องกันอุบัติเหตุสามารถทำได้โดยการปลูกฝังให้ประชาชน เยาวชนมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดอุบัติเหตุเพิ่มองค์ความรู้ มีวินัยจราจร การขับขี่ปลอดภัย มีความตระหนักในการป้องกันอุบัติเหตุ ทั้งนี้ทางโรงเรียนวัดโพธิ์กลางได้เล็งเห็นความสำคัญของการลดอุบัติเหตุในชุมชนตำบลท่าหิน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อดำเนินการลดอุบัติเหตุในชุมชนและปลูกฝัง พัฒนานักเรียนให้เป็นผู้ที่มีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกฎจราจร ขับขี่อย่างปลอดภัยเพื่อป้องกันอุบัติเหตุในชุมชนให้มีความยิ่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมสร้างวินัยจราจรให้กับนักเรียน
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวินัยจราจรมากขึ้น
- เพื่อฝึกความมีระเบียบให้เกิดขึ้นในชุมชน ลดการเกิดอุบัติเหตุ เสริมสร้างวินัยจราจร
- เพื่อสร้างจิตสำนักที่ดีในการใช้รถใช้ถนนให้เกิดขึ้นในเด็กและเยาวชน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแนะนำให้แก่บุคคลอื่นได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 95 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนมีวินัยจราจร ใช้รถ ใช้ถนน อย่างปลอดภัย นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวินัยจราจรมากขึ้น ความมีระเบียบให้เกิดขึ้นในชุมชน ลดการเกิดอุบัติเหตุ วินัยจราจรที่ดีเกิดขึ้นแก่เยาวชน นักเรียนมีจิตสำนึกที่ดีในการใช้รถใช้ถนน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแนะนำให้แก่บุคคลอื่นได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.นักเรียนมีวินัยในการจราจร ใช้รถ ใช้ถนน อย่างปลอดภัย 2.นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวินัยจราจรมากขึ้น 3.ความมีระเบียบให้เกิดขึ้นในชุมชน ลดการเกิดอุบัติเหตุ วินัยการจราจรที่ดีเกิดขึ้นแก่เยาวชน 4.นักเรียนมีจิตสำนึกที่ดีในการใช้รถใช้ถนน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแนะนำให้แก่บุคคลอื่นได้อย่างถูกต้อง ปัญหาและอุปสรรค ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 บริเวณโรงเรียนและชุมชนทำให้การดำเนินการจัดกิจกรรมได้ล่าช้ากว่ากำหนดและต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับความปลอดภัยของนักเรียนแต่ละระดับชั้น คือมีการแบ่งจัดการอบรมบางระดับชั้นในโรงเรียนและจัดอบรมบางระดับชั้นแบบออนไลน์ เพราะมีนักเรียนบางคนอยู่ในช่วงกักตัวสังเกตอาการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเสริมสร้างวินัยจราจรให้กับนักเรียน ตัวชี้วัด : นักเรียนได้เรียนรู้การใช้รถ ใช้ถนน การขับขี่และการจราจรตามฐานการเรียนรู้ต่างๆและสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน |
100.00 | 100.00 |
|
|
2 | เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวินัยจราจรมากขึ้น ตัวชี้วัด : นักเรียนมีวินัยในการจราจร ใช้รถ ใช้ถนน อย่างปลอดภัย |
100.00 | 100.00 |
|
|
3 | เพื่อฝึกความมีระเบียบให้เกิดขึ้นในชุมชน ลดการเกิดอุบัติเหตุ เสริมสร้างวินัยจราจร ตัวชี้วัด : ความมีระเบียนเกิดขึ้นในชุมชน การเกิดอุบัติเหตุภายในชุมชนลดลง |
100.00 | 100.00 |
|
|
4 | เพื่อสร้างจิตสำนักที่ดีในการใช้รถใช้ถนนให้เกิดขึ้นในเด็กและเยาวชน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแนะนำให้แก่บุคคลอื่นได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : นักเรียนมีจิตสำนักที่ดีในการใช้รถใช้ถนน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแนะนำให้แก่บุคคลอื่นได้อย่างถูกต้อง |
80.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 95 | 95 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 95 | 95 | |
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างวินัยจราจรให้กับนักเรียน (2) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวินัยจราจรมากขึ้น (3) เพื่อฝึกความมีระเบียบให้เกิดขึ้นในชุมชน ลดการเกิดอุบัติเหตุ เสริมสร้างวินัยจราจร (4) เพื่อสร้างจิตสำนักที่ดีในการใช้รถใช้ถนนให้เกิดขึ้นในเด็กและเยาวชน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแนะนำให้แก่บุคคลอื่นได้อย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการขับขี่ปลอดภัยเสริมสร้างวินัยจราจร จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5240-2-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาววารุณี เมืองศรีทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......