กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนักเรียนโรงเรียนบ้านอุไรใส่ใจสุขภาพ ได้รับอุดหนุนงบประมาณโดยกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จำนวน 53,830 บาท ซึ่งโรงเรียนบ้านอุไรได้ตำเนินโครงการตั้งแต่ มิถุนายน 2564 ถึง ธันวาคม 2564 โดยกลุ่มเป้าหมายคือ นักเรียนโรงเรียนบ้านอุไรผู้ปกครองนักเรียน คณะครูและบุคลากรโรงเรียนบ้านอุไรปีการศึกษา 2564 ซึ่งมีรายละเอียดผลการ

ดำเนินกิจกรรม สรุปได้ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง 1.1 ให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเต็ก แก่นักเรียน ครูผู้ปกครองแม่ครัว จากการดำเนินกิจกรรมพบว่า นักเรียน ครู ผู้ปกครองและแม่ครัว ร้อยละ 98 ผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้เรื่องภาวะโภขนาการ และ ร้อยละ 100 ของนักเรียนได้รับการติดตามด้านภาวะโภขนาการ 1.2 ให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายแก่นักเรียน ผลการดำเนินกิจกรรมพบว่า ร้อยละ 100 ของนักเรียน มีความรู้ในการออกกำลังกาย ผ่านเกณฑ์การประเมิน กิจกรรทที่ 2 ส่งเสริมการออกกำลังกาย 2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนเรียนรู้และส่งเสริมพัฒนาการการสร้างลานตาราง 9 ของเพื่อการเรียนรู้ ผลการดำเนินกิจกรรมพบว่านักเรียนได้ร่วมกิจกรรมทุกคน 2.2 ส่งเสริมให้นักเรียนออกกำลังกายโดยการเล่นกีฬา เช่น ฟุตบอล วอลเลย์บอล ตะกร้อ เป็นต้น ผลการดำเนินกิจกรรมพบว่านักเรียนทุกคนได้ร่วมกิจกรรมเล่นกีฬาตามความสนใจของแต่ละชนิดกีฬาโดยนักเรียนผู้ชายส่วนใหญ่จะสนใจเล่นกีฬาฟุตบอลส่วนนักเรียนผู้หญิงส่วนใหญ่สนใจเล่นกีฬาวอลเลย์บอลโดยใช้เวลาในการเล่นกีฬามากกว่า 3 ครั้ง/สัปดาห์ 2.3 ส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้นักเรียนรดน้ำต้นไม้พืชผักสวนครัว และปรับสภาพแวดล้อมในโรงเรียน ผลการดำเนินกิจกรรมพบว่า นักเรียนทุกคนได้ร่วมทำกิจกรรม เช่นรดน้ำต้นไม้ พืชผักส่วนครัว พรวนดิน ตัดแต่งกิ่งไม้ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง สรุปผลการดำเนินกิจกรรมพบว่านักเรียนร้อยละ 100 ได้ออกกำลังกายมากกว่า 3 ครั้ง/สัปดาห์ กิจกรรมที่ 3 ติดตาม/เฝ้าระวัง 3.1 ติดตาม/ฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการเด็ก จากการดำเนินการติดตามโดยการเยี่ยมบ้านและชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง จำนวน 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 เมื่อเดือนกรกฎาคม 2564 ครั้งที่ 2 เมื่อกันยายน 2564 และครั้งที่ 3 เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2564 พบว่าผู้ปกครองและนักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารในทางที่ดีขึ้นเต็กสามารถรับประทานอาหารพวกผักผลไม่ใด้มากขึ้น

ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการ เนื่องจากเป็นช่วงของสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา COVID 19 จึงทำให้บางกิจกรรมไม่สามารถดำเนินการได้ตามปฏิทิน คณะทำงานจึงมีการปรับปฏิหินกิจกรรมที่ไม่สามารถดำเนินการได้โดยเถื่อนมาดำเนินการในช่วงที่สถานการคดีคลายลง และ นอกจากนี้ในการจัดกิจกรรมกีฬาซึ่งต้องไม่ให้มีการเว้นระยะห่างจึงต้องจัดกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยความระมัดระวัง

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

เนื่องจากเป็นช่วงของสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา COVID 19 จึงทำให้บางกิจกรรมไม่สามารถดำเนินการได้ตามปฏิทินที่กำหนด

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ