กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง 1.1 ให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเต็ก แก่นักเรียน ครูผู้ปกครองแม่ครัว จากการดำเนินกิจกรรมพบว่า นักเรียน ครู ผู้ปกครองและแม่ครัว ร้อยละ 98 ผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้เรื่องภาวะโภขนาการ และ ร้อยละ 100 ของนักเรียนได้รับการติดตามด้านภาวะโภขนาการ 1.2 ให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายแก่นักเรียน ผลการดำเนินกิจกรรมพบว่า ร้อยละ 100 ของนักเรียน มีความรู้ในการออกกำลังกาย ผ่านเกณฑ์การประเมิน กิจกรรทที่ 2 ส่งเสริมการออกกำลังกาย 2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนเรียนรู้และส่งเสริมพัฒนาการการสร้างลานตาราง 9 ของเพื่อการเรียนรู้ ผลการดำเนินกิจกรรมพบว่านักเรียนได้ร่วมกิจกรรมทุกคน 2.2 ส่งเสริมให้นักเรียนออกกำลังกายโดยการเล่นกีฬา เช่น ฟุตบอล วอลเลย์บอล ตะกร้อ เป็นต้น ผลการดำเนินกิจกรรมพบว่านักเรียนทุกคนได้ร่วมกิจกรรมเล่นกีฬาตามความสนใจของแต่ละชนิดกีฬาโดยนักเรียนผู้ชายส่วนใหญ่จะสนใจเล่นกีฬาฟุตบอลส่วนนักเรียนผู้หญิงส่วนใหญ่สนใจเล่นกีฬาวอลเลย์บอลโดยใช้เวลาในการเล่นกีฬามากกว่า 3 ครั้ง/สัปดาห์ 2.3 ส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้นักเรียนรดน้ำต้นไม้พืชผักสวนครัว และปรับสภาพแวดล้อมในโรงเรียน ผลการดำเนินกิจกรรมพบว่า นักเรียนทุกคนได้ร่วมทำกิจกรรม เช่นรดน้ำต้นไม้ พืชผักส่วนครัว พรวนดิน ตัดแต่งกิ่งไม้ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง สรุปผลการดำเนินกิจกรรมพบว่านักเรียนร้อยละ 100 ได้ออกกำลังกายมากกว่า 3 ครั้ง/สัปดาห์ กิจกรรมที่ 3 ติดตาม/เฝ้าระวัง 3.1 ติดตาม/ฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการเด็ก จากการดำเนินการติดตามโดยการเยี่ยมบ้านและชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง จำนวน 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 เมื่อเดือนกรกฎาคม 2564 ครั้งที่ 2 เมื่อกันยายน 2564 และครั้งที่ 3 เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2564 พบว่าผู้ปกครองและนักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารในทางที่ดีขึ้นเต็กสามารถรับประทานอาหารพวกผักผลไม่ใด้มากขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านภาวะโภชนาการของนักเรียนในการดูแลสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของครู ผู้ปกครองเด็ก และแม่ครัว มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก
80.00 98.00

 

2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและส่งเสริมการออกกำลังกายของนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีความรู้ในการออกกำลังกายอย่างเหมาะสม 2. นักเรียนร้อยละ 100 ได้ออกกำลังกายมากกว่าหรือเท่ากับ 3 ครั้ง/สัปดาห์
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 129 129
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 69 69
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
บุคลากรทางการศึกษา 10 10
ผู้ปกครอง 50 50

บทคัดย่อ*

โครงการนักเรียนโรงเรียนบ้านอุไรใส่ใจสุขภาพ ได้รับอุดหนุนงบประมาณโดยกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จำนวน 53,830 บาท ซึ่งโรงเรียนบ้านอุไรได้ตำเนินโครงการตั้งแต่ มิถุนายน 2564 ถึง ธันวาคม 2564 โดยกลุ่มเป้าหมายคือ นักเรียนโรงเรียนบ้านอุไรผู้ปกครองนักเรียน คณะครูและบุคลากรโรงเรียนบ้านอุไรปีการศึกษา 2564 ซึ่งมีรายละเอียดผลการ

ดำเนินกิจกรรม สรุปได้ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง 1.1 ให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเต็ก แก่นักเรียน ครูผู้ปกครองแม่ครัว จากการดำเนินกิจกรรมพบว่า นักเรียน ครู ผู้ปกครองและแม่ครัว ร้อยละ 98 ผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้เรื่องภาวะโภขนาการ และ ร้อยละ 100 ของนักเรียนได้รับการติดตามด้านภาวะโภขนาการ 1.2 ให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายแก่นักเรียน ผลการดำเนินกิจกรรมพบว่า ร้อยละ 100 ของนักเรียน มีความรู้ในการออกกำลังกาย ผ่านเกณฑ์การประเมิน กิจกรรทที่ 2 ส่งเสริมการออกกำลังกาย 2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนเรียนรู้และส่งเสริมพัฒนาการการสร้างลานตาราง 9 ของเพื่อการเรียนรู้ ผลการดำเนินกิจกรรมพบว่านักเรียนได้ร่วมกิจกรรมทุกคน 2.2 ส่งเสริมให้นักเรียนออกกำลังกายโดยการเล่นกีฬา เช่น ฟุตบอล วอลเลย์บอล ตะกร้อ เป็นต้น ผลการดำเนินกิจกรรมพบว่านักเรียนทุกคนได้ร่วมกิจกรรมเล่นกีฬาตามความสนใจของแต่ละชนิดกีฬาโดยนักเรียนผู้ชายส่วนใหญ่จะสนใจเล่นกีฬาฟุตบอลส่วนนักเรียนผู้หญิงส่วนใหญ่สนใจเล่นกีฬาวอลเลย์บอลโดยใช้เวลาในการเล่นกีฬามากกว่า 3 ครั้ง/สัปดาห์ 2.3 ส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้นักเรียนรดน้ำต้นไม้พืชผักสวนครัว และปรับสภาพแวดล้อมในโรงเรียน ผลการดำเนินกิจกรรมพบว่า นักเรียนทุกคนได้ร่วมทำกิจกรรม เช่นรดน้ำต้นไม้ พืชผักส่วนครัว พรวนดิน ตัดแต่งกิ่งไม้ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง สรุปผลการดำเนินกิจกรรมพบว่านักเรียนร้อยละ 100 ได้ออกกำลังกายมากกว่า 3 ครั้ง/สัปดาห์ กิจกรรมที่ 3 ติดตาม/เฝ้าระวัง 3.1 ติดตาม/ฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการเด็ก จากการดำเนินการติดตามโดยการเยี่ยมบ้านและชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง จำนวน 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 เมื่อเดือนกรกฎาคม 2564 ครั้งที่ 2 เมื่อกันยายน 2564 และครั้งที่ 3 เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2564 พบว่าผู้ปกครองและนักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารในทางที่ดีขึ้นเต็กสามารถรับประทานอาหารพวกผักผลไม่ใด้มากขึ้น

ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการ เนื่องจากเป็นช่วงของสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา COVID 19 จึงทำให้บางกิจกรรมไม่สามารถดำเนินการได้ตามปฏิทิน คณะทำงานจึงมีการปรับปฏิหินกิจกรรมที่ไม่สามารถดำเนินการได้โดยเถื่อนมาดำเนินการในช่วงที่สถานการคดีคลายลง และ นอกจากนี้ในการจัดกิจกรรมกีฬาซึ่งต้องไม่ให้มีการเว้นระยะห่างจึงต้องจัดกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยความระมัดระวัง

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh