กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ”

ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายจรัญ เกลาแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3366-2-02 เลขที่ข้อตกลง 15/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยง (3) สรุปและประเมินผล

ข้อเสนอแนะ -

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557 พบว่า สัดส่วนของผู้เป็นเบาหวานที่ไม่ทราบว่าตนเองเป็นเบาหวาน เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 31.2 ในปี 2552เป็นร้อยละ 43.1 ในปี 2557 และ ผู้ที่เป็นความดันโลหิตสูง ไม่ทราบว่าตนเองเป็นความดันโลหิตสูง จากร้อยละ 50.3 ในปี 2552 เป็นร้อยละ 54.7 ในปี 2557 แสดงให้เห็นว่า ผู้ใหญ่ไทยที่เป็นเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูง มากกว่าร้อยละ 40 ไม่ได้รับการวินิจฉัยจากวิธีการคัดกรองที่ผ่านมา ดังนั้น แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ.2560 และแนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2562 จึงได้กำหนดวิธีการคัดกรอง วินิจฉัย ขึ้นทะเบียนและรักษา เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว จากการคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาปู่ ปีงบประมาณ 2562 และ ปี 2563 พบว่า กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ร้อยละ 21.10 และ ร้อยละ 25.56กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 43.87และ ร้อยละ 10.09พบว่ากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ปี 2562พบกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง จำนวน 14 คน ร้อยละ 3.54 , 5 คน ร้อยละ 2.59ปี 2563พบกลุ่มป่วยเบาหวาน รายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง จำนวน 8 คนร้อยละ 2.10 และไม่พบผู้ป่วยรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง จะเห็นว่ากลุ่มป่วยรายใหม่ลดลงจากปี 2562 การตรวจคัดกรองและประเมินความเสี่ยงฯทำให้สามารถพบกลุ่มที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค กลุ่มสงสัยป่วยหรือกลุ่มป่วยแล้วแต่ยังไม่ได้รับการตรวจคัดกรอง-วินิจฉัยแต่แรก การดูแลกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย ดังกล่าว ทั้งที่มีและไม่มีอาการ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและวิถีชีวิตที่ไม่เหมาะสมอย่างเข้มข้นเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง สามารถป้องกันและยืดระยะเวลาการเป็นโรคออกไปได้ถึง ร้อยละ 50 และจากการอบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงของประชาชนในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาปู่ ในปีงบประมาณ 2563ทำให้กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วย 3 อ 2 ส และสามารถควบคุมระดับความดันให้กลับมาอยู่ในเกณฑ์ปกติได้ ร้อยละ 58.98 จึงเป็นวิธีการป้องกันการเกิดโรคฯที่ดีที่สุด ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเขาปู่จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2564 ขึ้น เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคตระหนัก เห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยง
  3. สรุปและประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 250
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ลดผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลผลิต 1.จัดอบรมให้ความรู้ เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ด้วย 3 อ 2 ส แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 120 คน ร้อยละ 100 2.จัดอบรมให้ความรู้ เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วย 3 อ 2 ส แก่กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 120 คน ร้อยละ 100 3.กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงทุกราย ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน 1 ครั้ง พร้อมลงบันทึกในสมุดของกลุ่มเสี่ยง ผลลัพธ์ 1.กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 69 ร้อยละ 57.50 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ปกติได้ 2.กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูง จำนวน 76 คน ร้อยละ 63.33 สามารถควบคุมความดันโลหิตให้ลดลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายสามารถคุมระดับนำ้ตาลในเลือดได้ ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้ามีระดับความดันโลหิตในเกณฑ์ที่ปกติ
0.00 240.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250 240
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 250 240
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยง (3) สรุปและประเมินผล

ข้อเสนอแนะ -

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ห่างไกลโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3366-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจรัญ เกลาแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด