กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขอนคลาน


“ หมู่บ้านสะอาด ปลอดขยะ ไร้โรค ประจำปี พ.ศ.2564 ”

ตำบลขอนคลาน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางดวงจิต รวนเร

ชื่อโครงการ หมู่บ้านสะอาด ปลอดขยะ ไร้โรค ประจำปี พ.ศ.2564

ที่อยู่ ตำบลขอนคลาน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5291-2-6 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"หมู่บ้านสะอาด ปลอดขยะ ไร้โรค ประจำปี พ.ศ.2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลขอนคลาน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขอนคลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
หมู่บ้านสะอาด ปลอดขยะ ไร้โรค ประจำปี พ.ศ.2564



บทคัดย่อ

โครงการ " หมู่บ้านสะอาด ปลอดขยะ ไร้โรค ประจำปี พ.ศ.2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลขอนคลาน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5291-2-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 47,990.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขอนคลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีสุขภาพดี เป็นเป้าหมายสูงสุดของมวลมนุษย์ชาติ ซึ่งหากประเทศชาติใดประชากรมีสุขภาพที่ดี ย่อมส่งผลให้ประเทศนั้นมีความเจริญมั่นคง ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การปกครอง เทคโนโลยี และการเป็นผู้นำของโลก การที่ประชาชนมีสุขภาพดี จึงมีความสำคัญและเป็นพื้นฐานของการพัฒนาในด้านต่างๆ ความเจ็บป่วยของประชาชน ในปัจจุบันแบ่งออกเป็นป่วยด้วยโรคติดต่อ และป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งโรคติดต่อที่สำคัญ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอุจาระร่วง โรคระบบทางเดินหายใจ วัณโรค และในปัจจุบันเราต้องประสบปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่มามีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน เป็นต้น ส่วนโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ และเจ็บป่วยด้วยอุบัติเหตุ อุบัติภัย เป็นต้น โรคติดต่อมีปัจจัยองค์ประกอบของการเกิดโรคประกอบด้วย บุคคล เชื้อโรค พาหะนำโรค และสิ่งแวดล้อม ซึ่งในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อจะต้องควบคุมปัจจัยดังกล่าวไม่ให้เอื้อต่อการเกิดโรค คือ บุคคลต้องมีสุขภาพที่แข็งแรง สมบูรณ์ เชื้อโรคต้องไม่มีหรือมีจำนวนน้อย พาหะนำโรคไม่มีหรือมีน้อย และที่สำคัญคือ สิ่งแวดล้อมต้องถูกสุขลักษณะโดยเฉพาะสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยของบุคคลต้องสะอาดถูกสุขลักษณะ จึงจะทำให้ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรคและการปรับปรุงควบคุมหรือรักษาสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะเป็นสิ่งที่ประชาชนในหมู่บ้าน / ทุกชุมชนทำได้ ในวิถีชีวิตประจำวันของแต่ละบุคคลแต่ละหลังคาเรือน ซึ่งหมู่บ้านใด ชุมชนใด มีการปรับปรุงรักษาความสะอาดของที่พักอาศัยให้ได้มาตรฐานเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง ก็จะเป็นการป้องกันโรคติดต่อต่างๆ ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ประชาชนในชุมชนนั้นๆ มีสุขภาพที่แข็งแรงไม่เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อดังกล่าว ซึ่งการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคติดต่อจะได้ผลต้องได้รับความร่วมมือจากทุกคน ทุกหลังคาเรือน ทุกภาคส่วน จึงจะได้ผลอย่างยั่งยืน ด้วยเหตุนี้ เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคตำบลขอนคลาน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จึงต้องการมุ่งเน้นให้เห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพที่ดีของประชาชนในชุมชนทั้งกลุ่มวัยเรียน เด็กเล็ก ก่อนวัยเรียนและเยาวชน กลุ่มวัยทำงาน และทุกคนในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการหมู่บ้านสะอาด ปลอดขยะ ไร้โรค ขึ้น เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดและร่วมมือกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้าน ในที่พักอาศัยของตนเองให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ และรักษาให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน ซึ่งถ้าหมู่บ้านมีความสะอาดแล้ว โรคติดต่อต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนก็จะลดลงได้อย่างมากส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ส่งผลให้มีภาวะปลอดขยะ ไร้โรค ภายในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนักและร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือนหมู่บ้านของตนเอง และร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ
  2. ข้อที่ 2 เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
  3. ข้อที่ 3 เพื่อประกาศเกียรติคุณหมู่บ้าน ที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อโดยรักษาความสะอาดของหมู่บ้าน
  4. ข้อที่ 4 เพื่อให้ประชาชนสามารถลดขยะมูลฝอยในครัวเรือนและรู้จักคัดกรอง แยกขยะอย่างเหมาะสมและถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 150
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนักและร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือนหมู่บ้านของตนเอง และร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ
            2. เกิดการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน       3. มีการประกาศเกียรติคุณหมู่บ้าน ที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อโดยรักษาความสะอาดของหมู่บ้าน       4. ประชาชนสามรถลดขยะมูลฝอยในครัวเรือนและรู้จักคัดกรอง แยะขยะอย่างเหมาะสมและถูกต้อง       5. ประชาชนรู้จักการใช้ถังขยะอินทรีย์และการนำเศษวัสดุเหลือใช้ในครัวเรือน/สำนักงาน มาใช้ประโยชน์ได้       6. ประชาชนมีจิตสำนึก ตระหนักถึงความสำคัญในการกำจัดขยะในครัวเรือน ชุมชน ที่สาธารณะ รวมทั้งในท้องทะเล

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนักและร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือนหมู่บ้านของตนเอง และร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนักและร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือนหมู่บ้านของตนเอง และร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ
    0.00

     

    2 ข้อที่ 2 เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
    ตัวชี้วัด : อัตราป่วยโรคติดต่อลดลง
    0.00

     

    3 ข้อที่ 3 เพื่อประกาศเกียรติคุณหมู่บ้าน ที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อโดยรักษาความสะอาดของหมู่บ้าน
    ตัวชี้วัด : เกิดการประกวดหมู่บ้านสะอาด ปลอดขยะ ไร้โรค
    0.00

     

    4 ข้อที่ 4 เพื่อให้ประชาชนสามารถลดขยะมูลฝอยในครัวเรือนและรู้จักคัดกรอง แยกขยะอย่างเหมาะสมและถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนสามารถลดขยะมูลฝอยในครัวเรือนและรู้จักคัดกรอง แยกขยะอย่างเหมาะสมและถูกต้อง
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 150
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนักและร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือนหมู่บ้านของตนเอง และร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ (2) ข้อที่ 2 เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน (3) ข้อที่ 3 เพื่อประกาศเกียรติคุณหมู่บ้าน ที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อโดยรักษาความสะอาดของหมู่บ้าน (4) ข้อที่ 4 เพื่อให้ประชาชนสามารถลดขยะมูลฝอยในครัวเรือนและรู้จักคัดกรอง แยกขยะอย่างเหมาะสมและถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    หมู่บ้านสะอาด ปลอดขยะ ไร้โรค ประจำปี พ.ศ.2564 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 64-L5291-2-6

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางดวงจิต รวนเร )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด